จุดเริ่มต้นของการดูแลชีวิตน้อย ๆ อย่างสมบูรณ์แบบ
โรคภูมิแพ้ เป็นโรคที่ร่างกายไวต่อสิ่งกระตุ้นหรือสารก่อภูมิแพ้ โดยช่วงที่พบบ่อยในเด็ก คือช่วงขวบปีแรกจะเป็นการแพ้อาหารและภูมิแพ้ผิวหนัง เมื่ออายุ 2 ปีขึ้นไปจะพบโรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจ แพ้อากาศ และโรคหืด ส่วนโรคลมพิษ แพ้ยา หรือแพ้แมลงสัตว์กัดต่อยจะพบได้ในทุกช่วงอายุ
สามารถเข้ารับบริการได้ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2567
การฉีดวัคซีนในช่วงตั้งครรภ์เป็นเรื่องสำคัญที่ช่วยป้องกันโรคและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทั้งคุณแม่และทารกในครรภ์ อีกทั้งการได้รับวัคซีนที่เหมาะสมช่วยให้คุณแม่และทารกมีสุขภาพที่ดีในช่วงตั้งครรภ์และหลังคลอด
ความเจ็บป่วยระหว่างการตั้งครรภ์ ไม่ใช่แค่สุขภาพของคุณแม่เท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่อเจ้าตัวเล็กในครรภ์ด้วย
ครรภ์เป็นพิษ...ภาวะที่คุณแม่ต้องระวัง
ภาวะครรภ์เสี่ยง คือ ภาวะที่การตั้งครรภ์ครั้งนั้นๆ มีความเสี่ยงสูงกว่าปกติที่จะเกิดปัญหาทั้งกับแม่และทารกในครรภ์ โดยอาจเกิดได้จากหลายปัจจัย เช่น อายุของคุณแม่ ปัจจัยสุขภาพของคุณแม่ ปัจจัยทางพันธุกรรม หรือสภาพแวดล้อม หากปล่อยให้เกิดภาวะนี้แล้วไม่ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดจากสูตินรีแพทย์ อาจส่งผลอันตรายต่อทั้งคุณแม่และทารกในครรภ์ได้
เชื้อนิวโมคอคคัสเป็นเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคปอดบวมหรือปอดอักเสบได้ โดยเชื้อตัวนี้มักอาศัยอยู่ในโพรงจมูกและลำคอของเด็ก ในประเทศไทยมีสายพันธุ์ที่พบบ่อยอยู่ 13 สายพันธุ์ โดยสายพันธุ์ที่พบบ่อยมากขึ้นเรื่อยๆ คือ สายพันธุ์ 19A ทั้งยังมีการรักษาที่ยากขึ้นเนื่องจากมีอาการดื้อยา
ไตรมาสแรก (อายุครรภ์ 1-3 เดือน) ของคุณแม่ตั้งครรภ์
ไตรมาสแรก (อายุครรภ์ 1-3 เดือน) ของคุณแม่ตั้งครรภ์
ไตรมาสแรก (อายุครรภ์ 1-3 เดือน) ของคุณแม่ตั้งครรภ์
ในระหว่างการตั้งครรภ์สิ่งที่คุณแม่คำนึกถึงเป็นลำดับแรกๆ คือ สุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตที่ดี เพื่อให้ทารกที่อยู่ในครรภ์ปลอดภัยและแข็งแรงที่สุดเมื่อถึงเวลาลืมตาดูโลก ดังนั้นการทราบถึงความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในระหว่างการตั้งครรภ์ และการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง จะทำให้เราสามารถรับมือกับมันได้อย่างดีและปลอดภัยทั้งแม่และลูกน้อยตลอดการตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์ในไตรมาสแรกเป็นช่วงเวลาสำคัญที่ร่างกายของลูกน้อยจะค่อย ๆ มีพัฒนาการ ซึ่งคุณแม่ในช่วงนี้จึงเสี่ยงเกิดภาวะอัน
ภาวะเสี่ยงแท้งหรือภาวะแท้งคุกคาม การแพ้ท้อง ท้องผูก ภาวะเบาหวาน และดาวน์ซินโดรม
มาเช็คกันว่าต้องเตรียมอะไรบ้าง?
SUPER MOM ครั้งที่ 3 ทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับคุณแม่
ภาวะผมร่วงหลังคลอดเกิดจากฮอร์โมนเอสโตรเจนที่ลดลงอย่างรวดเร็วแบบกะทันหัน แต่เมื่อเวลาผ่านไป 6-12 เดือน อาการผมร่วงจะหายไปได้เอง
การฝากครรภ์ จะช่วยให้คุณแม่และลูกได้รับการดูแลอย่างถูกต้องตลอดการตั้งครรภ์ ทั้งยังช่วยให้การคลอดออกมาอย่างปลอดภัย แล้วการฝากครรภ์ที่ดีควรเป็นอย่างไร? เรามีคำตอบ
คุณแม่ตั้งครรภ์ทุกคนควรได้รับการตรวจคัดกรองดาวน์ซินโดรมของทารกในครรภ์ โดยสามารถตรวจได้ทั้งจากการตรวจเลือดและจากการตรวจน้ำคร่ำตามความเหมาะสม
ความเปลี่ยนแปลงของคุณแม่ทั้งทางร่างกายและจิตใจไม่ได้เกิดขึ้นเพียงแค่ในระหว่างอุ้มท้องเท่านั้น แต่รวมถึงหลังคลอดบุตรแล้วด้วย ความรู้และข้อปฏิบัติตนหลังคลอดที่ถูกต้องจึงมีความสำคัญ
วันนี้เรามีคำแนะนำสำหรับคุณแม่เพื่อสังเกตความผิดปกติในระหว่างตั้งครรภ์
อาการซึมเศร้าหลังคลอด ที่คุณแม่ต้องรู้!
ทารกตัวเหลืองมักเกิดจากการมีสารบิลิรูบินในร่างกายมากเกินไปเพราะตับยังขจัดออกได้ไม่ดี เนื่องจากทารกมักมีการทำงานของตับที่ยังไม่สมบูรณ์
โรคสมาธิสั้นในเด็กเกิดจากสารเคมีในสมองที่ไม่สมดุล ทั้งยังอาจเกิดได้จากพันธุกรรม การเลี้ยงดู และปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม
อาการเริ่มแรกของโรคมือเท้าปาก คือการมีไข้ 1-2 วัน และเริ่มมีแผลที่กระพุ้งแก้มกับเพดานปาก จากนั้นจะมีผื่นเป็นจุดแดงและกลายเป็นตุ่มน้ำใสขึ้นตามบริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า รอบก้นและอวัยวะเพศ หรือตามลำตัว แขนและขาได้ด้วย
การออกกำลังกายไม่เพียงช่วยเรื่องสุขภาพร่างกายของคุณแม่แล้ว แต่ยังช่วยลดภาวะเสี่ยงต่างๆที่อาจเกิดขึ้นขณะตั้งครรภ์ได้อีกด้
คุณแม่อาจมีอาการต่างๆ เกิดขึ้นในระหว่าง 9 เดือนของการตั้งครรภ์
คุณแม่อาจมีอาการต่างๆ เกิดขึ้นในระหว่าง 9 เดือนของการตั้งครรภ์