สิ่งที่มาพร้อมกับอายุที่เพิ่มขึ้นไม่ได้มีเพียงตัวเลข แต่รวมไปถึงสุขภาพที่มีความเสื่อมถอยลง โดยเฉพาะกับระบบภูมิคุ้มกันต่อโรคต่างๆ ที่เป็นสิ่งที่เราไม่สามารถวัดได้ด้วยสายตาเปล่าๆ เนื่องจากภูมิคุ้มกันมีหน้าที่ในการปกป้องร่างกายจากอันตรายจากเชื้อโรคต่างๆ
รักษาภาวะ “สมองเสื่อม” ในผู้สูงอายุ ทำได้อย่างไร?
รักษาภาวะ “สมองเสื่อม” ในผู้สูงอายุ ทำได้อย่างไร?
เพิ่มความมั่นใจ ของคนที่ใช่อยู่เคียงข้างคนที่เรารัก
โรคข้อเข่าเสื่อม "โรค" ที่มาพร้อมกับวัยผู้สูงอายุ
เมื่ออายุมากขึ้นหรืออยู่ในวัยผู้สูงอายุยิ่งต้องระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCDs เช่น เบาหวาน ความดัน ไขมันในเลือด ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคอื่นๆ ตามมา การตรวจสุขภาพเป็นประจำจะช่วยลดความเสี่ยงโรคเหล่านี้ได้
ความดันโลหิตสูงเป็นกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง แต่เป็นโรคสำคัญที่ควรได้รับการดูแลเป็นอย่างดีเพื่อไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพในอนาคต
ปัญหาโรคกระดูกและข้อที่เริ่มแสดงอาการชัดเจน และรุนแรงมากขึ้น ซึ่งผู้สูงอายุต้องระวังเป็นอย่างยิ่งในการเคลื่อนไหวร่างกายใ
เมื่ออายุมากขึ้น ร่างกายของมนุษย์เราก็จะเสื่อมลงตามธรรมชาติ โดยเฉพาะความเสื่อมจากภายในของอวัยวะต่าง ๆ จึงส่งผลให้ผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคได้ง่ายขึ้น
ผู้สูงอายุนั้นมีความเสี่ยงที่จะอาการรุนแรง เมื่อติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ได้มากกว่าช่วงวัยอื่นๆ
ภาวะกระดูกหักในผู้ป่วยที่มีกระดูกพรุน พบได้บ่อยเฉลี่ยทุกๆ 3 วินาที
ภาวะกระดูกหักในผู้ป่วยที่มีกระดูกพรุน พบได้บ่อยเฉลี่ยทุกๆ 3 วินาที
อาการ “นอนติดเตียง” สามารถเกิดขึ้นได้กับผู้สูงอายุ หรือผู้ป่วยที่มีสุขภาพร่างกายอยู่ในภาวะเสื่อมโทรม
การดูแลเครื่องดื่มสำหรับผู้สูงอายุนั้น จำเป็นต้องคำนึงถึงประโยชน์ของเครื่องดื่มนั้นๆ
ผู้สูงอายุมีความเปลี่ยนแปลงหลายอย่างในร่างกาย ซึ่งมีผลกระทบต่อการรับประทานอาหาร
เมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น ประสิทธิภาพของระบบการทำงานและอวัยวะต่างๆในร่างกายก็จะถดถอยลง โดยเฉพาะ “ผู้สูงอายุ”
งานอดิเรก เป็นกิจกรรมที่เราทำในเวลาว่าง ช่วยเป็นที่ยึดเหนี่ยว รวมถึงช่วยขจัดความเครียดของจิตใจทางหนี่งสำหรับผู้สูงอายุ
โรคงูสวัด เป็นโรคติดเชื้ออันดับต้นๆ ที่เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตในผู้สูงอายุ ทั้งที่จริงๆ แล้ว เราสามารถป้องกันความเสี่ย
อายุมากขึ้น ก็ต้องระวังเรื่องสุขภาพมากขึ้นเช่นกัน
ผู้ใหญ่ในบ้านชอบบ่นว่าจุกท้อง แน่นท้องบ่อยๆ รู้สึกเหมือนอาหารไม่ย่อย ว่าแต่…อาหารไม่ย่อยนี่มีอาการแบบไหนนะ วันนี้เรามีเทคนิคดีๆ มาฝาก เพื่อแก้ไขปัญหาความไม่สบายตัวนี่ของผู้สูงอายุ
โรคซึมเศร้า..น่าจะกลายเป็นโรคยอดฮิตในผู้คนยุคสมัยนี้ แต่ไม่ใช่แค่เพียงวัยกลางคนอย่างเราๆ เท่านั้นนะ เพราะในกลุ่มผู้สูงอายุ “โรคซึมเศร้า” ถือว่าเป็นอีกหนึ่งปัญหาใหญ่ที่พบได้มากกว่าวัยอื่น ๆ
เมื่ออายุมากขึ้น ความเสื่อมต่างๆ ก็ลดน้อยถอยลงไป ดวงตาก็เช่นเดียวกัน ด้วยอายุที่เพิ่มขึ้นความเสี่ยงต่างๆ ก็เพิ่มเป็นเงาตามตัว จะสังเกตได้ว่าความชัดเจนของดวงตาจากที่เคยมองอะไรชัดก็กลายเป็นมองไม่ชัด
วัยสูงอายุ เป็นช่วงวัยที่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษ เพราะเป็นช่วงวัยที่ร่างกายเริ่มจะถดถอยเพราะต้องเจอกับความเสื่อมที่มากับกาลเวลา
เมื่อคนเรามีอายุ 60ปี ขึ้นไป สภาพร่างกายเริ่มเสื่อมลง ร่างกายไม่กระฉับกระเฉงเหมือนตอนเป็นหนุ่มเป็นสาว ผิวหนังเริ่มเหี่ยว ระบบประสาทเริ่มเสื่อม
ทุกเพศทุกวัย มีความเสี่ยงต่อการเป็นเบาหวานได้เท่ากัน
โรคข้อสะโพกที่พบบ่อยในคนไทย ได้แก่ ข้อสะโพกเสื่อมตามวัย (Osteoarthritis: OA) ข้อสะโพกผิดปกติแต่กำเนิด เจริญเติบโตไม่เต็ม
วัยสูงอายุ กับอาการปวดหลัง หนึ่งในสาเหตุหลัก
อาการ “ปวดหลัง” มักพบได้บ่อยในผู้สูงอายุ เนื่องจากการเสื่อมสภาพของข้อกระดูกสันหลังจนกระทั่งทรุดตัวลง
ผู้สูงอายุมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุได้ง่ายและเมื่อเกิดแล้วก็อาจเกิดปัญหาแทรกซ้อนตามมาได้ เช่น กระดูกข้อมือ
ผู้สูงอายุมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุได้ง่ายและเมื่อเกิดแล้วก็อาจเกิดปัญหาแทรกซ้อนตามมาได้ เช่น กระดูกข้อมือ