อายุมาก…ยังจำเป็นต้อง “ตรวจภายใน” หรือไม่
เมื่อตอนยังเป็นสาวหลายคนก็ยังพอเข้าใจว่าเราต้องรับการตรวจภายใน อย่างน้อยก็เพื่อป้องกันหากเกิดอาการผิดปกติจะได้รักษาได้ทัน แต่หากอายุมากแล้วล่ะยังจำเป็นอยู่มั้ย มาดูคำตอบกัน
ลูกหัวปีท้ายปี… มีวิธีดูแลตัวเองอย่างไร
เลี้ยงลูกขวบปีแรก… ต้องระวังอะไรบ้าง
ต้องบอกว่าเป็นช่วงเวลาที่ทั้งมีความสุขมากสำหรับหลายคนที่รอคอยเจ้าตัวเล็กออกมาลืมตาดูโลก แต่ก็มาพร้อมความกังวลใจต่าง ๆ นานา เพราะลูกน้อยยังเล็ก จะสื่อสารอะไรด้วยคำพูดยังไม่ได้
เช็คลิสต์ยาสามัญประจำบ้านสำหรับ “เจ้าตัวเล็ก”
เพราะไม่รู้ว่าเจ้าตัวเล็กของเราจะป่วยวันไหนคุณพ่อคุณแม่ส่วนใหญ่จึงควรเตรียมยาสามัญประจำบ้านไว้ให้พร้อมเผื่อเหตุการณ์ฉุกเฉินเล็กๆน้อยๆจะได้ดูแลลูกน้อยได้ทัน
เตรียมตัวจะมีลูก… ”ว่าที่คุณแม่” ต้องตรวจอะไรบ้าง?
การมีลูกเป็นประสบการณ์ที่สร้างทั้งความสุขและช่วยเติมเต็มชีวิต ซึ่งว่าที่คุณพ่อคุณแม่ทั้งหลายย่อมมีความคาดหวังให้ทารกที่จะเกิดมามีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง
เด็กดูดนิ้ว กัดของเล่น…ทำให้ “ฟันเสีย” หรือไม่?
เคยสังเกตไหมว่าเด็กๆ ชอบ “ดูดนิ้ว” เผลอเป็นไม่ได้ ต้องเอานิ้วเข้าปากทุกที ซึ่งปัญหาการดูดนิ้วของเด็กนั้นเป็นเรื่องที่คุณพ่อคุณแม่ส่วนใหญ่ต้องพบเจอ ทำเอาพ่อแม่หลายคนกลุ้มใจไปตาม ๆ กัน
เช็คลิสต์ วิธีดูแลสุขภาพฟัน เมื่อใส่ “ฟันปลอม”
เมื่อสูญเสียฟันแท้ไปก็ต้องหาฟันใหม่เข้ามาทดแทน ซึ่งหนึ่งในทางเลือกที่นิยมใช้กันก็คือ “ฟันปลอม” แต่ใช่ว่าใส่ฟันปลอมแล้วจะปล่อยปละละเลยได้
จำเป็นแค่ไหน? ที่ต้องแจ้งโรคประจำตัวเมื่อทำฟัน
ทำไมเวลาไปทำฟันหมอต้องถามว่ามีโรคประจำตัวอะไรไหม อันที่จริงแค่ทำฟันก็ไม่น่าจะเกี่ยวกับโรคประจำตัวแต่ทำไมคุณหมอต้องถามทุกครั้ง? อย่าเพิ่งคิดว่าไม่เกี่ยว!
สาย Workout จะเลือกแพ็คเกจตรวจสุขภาพอย่างไร…ให้ตรงจุด
ปัจจุบันคนไทยหันมาใส่ใจสุขภาพกันมากขึ้น โดยจะเห็นได้จากกระแสการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพ หรือ Clean Food รวมถึงการออกกำลังกายตามสถานที่ต่างๆ เช่น ฟิตเนส สวนสาธารณะ สนามกีฬา เป็นต้น
สารพัดปัญหา…เกี่ยวกับตาใน “ผู้สูงอายุ”
เมื่ออายุมากขึ้น ความเสื่อมต่างๆ ก็ลดน้อยถอยลงไป ดวงตาก็เช่นเดียวกัน ด้วยอายุที่เพิ่มขึ้นความเสี่ยงต่างๆ ก็เพิ่มเป็นเงาตามตัว จะสังเกตได้ว่าความชัดเจนของดวงตาจากที่เคยมองอะไรชัดก็กลายเป็นมองไม่ชัด
โรคตาแห้ง…มีวิธีดูแลอย่างไรไม่ให้ลุกลาม
“โรคตาแห้ง” เป็นโรคที่พบได้บ่อยในคนทุกเพศทุกวัย ถึงแม้ว่าอาการจะไม่ได้รุนแรงแต่หากปล่อยทิ้งไว้ไม่ทำการรักษาก็จะทำให้เกิดการระคายเคืองมากขึ้น จนเกิดการอักเสบขึ้นได้
คนเป็นเบาหวาน…สามารถผ่าตัดได้หรือไม่
แม้ผู้ป่วยเบาหวานต้องระวังไม่ให้เกิดแผล แต่รู้ไหมว่า ผู้ป่วยเบาหวานสามารถเข้ารับการผ่าตัดได้เช่นเดียวกับคนปกติ เพียงแต่ก่อนการผ่าตัดนั้น แพทย์จะต้องประเมินถึงภาวะแทรกซ้อนและความผิดปกติต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น
“ไตเสื่อม” โรคนี้รุนแรงแค่ไหน
โรคไตเรื้อรังเรียกว่าเป็นปัญหาสำคัญในระบบสาธารณสุขของไทย เพราะเป็นโรคที่มีความชุกเพิ่มขึ้นและส่งผลกระทบต่อสุขภาวะของผู้ป่วยอย่างมาก
ใช้ของมือสอง…เสี่ยงแค่ไหนกับปัญหาสุขภาพ
ใครที่เป็นสายอินดี้คลั่งไคล้การใช้ของมือสอง โดยเฉพาะพวกเสื้อผ้าที่เห็นเป็นไม่ได้แล้วล่ะก็ งานนี้คงต้องพิถีพิถันกับการเลือกให้มากขึ้นกันอีกหน่อย เพราะรู้หรือไม่ว่าของมือสองบางอย่างก็มีอันตรายซ่อนอยู่
5 เทคนิคป้องกัน “อาหารไม่ย่อยในผู้สูงอายุ”
ผู้ใหญ่ในบ้านชอบบ่นว่าจุกท้อง แน่นท้องบ่อยๆ รู้สึกเหมือนอาหารไม่ย่อย ว่าแต่…อาหารไม่ย่อยนี่มีอาการแบบไหนนะ วันนี้เรามีเทคนิคดีๆ มาฝาก เพื่อแก้ไขปัญหาความไม่สบายตัวนี่ของผู้สูงอายุ
Activity ของคนรุ่นใหญ่…ใช้เวลาว่างหลังเกษียณแบบสนุกๆ
ตอนนี้เรียกได้ว่าสังคมไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มรูปแบบ บางคนอาจมีพ่อแม่เข้าใกล้วัยเกษียณแล้ว จะให้นั่งๆนอนๆ อยู่บ้านก็อาจเสี่ยงเป็นโรคซึมเศร้าได้
รู้ไหม? “นอนกรน”คือสัญญาณบอกโรคร้าย..อันตรายกว่าที่คิด
ใครที่คิดมาตลอดว่า “การนอนกรน” เป็นเรื่องน่าขำและน่าอาย ขอบอกเลยว่า จริงๆ แล้วการนอนกรนไม่ใช่เรื่องตลกอย่างที่คิด แต่กลับเป็นภาวะอาการที่เกิดจากความผิดปกติของร่างกาย
ความดันโลหิตสูง… จำเป็นแค่ไหน ที่ต้องรักษา
โรคความดันโลหิตสูง นับเป็นภัยเงียบที่คร่าชีวิตคนไทยเป็นอันดับต้นๆ เพราะไม่ค่อยแสดงอาการให้เห็น ซึ่งข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุขรายงานว่าจำนวนผู้ป่วยและอัตราการเสียชีวิตของคนไทยจากโรคนี้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สมองเสื่อม… โรคนี้ป้องกันได้จริงหรือ?
ถ้าในวันหนึ่ง.. คุณเกิดจำคนที่เคยคุ้นตาไม่ได้อีกต่อไป หรือจะหยิบจับทำอะไรก็มีอันต้องสะดุดเพราะจู่ ๆ ก็ลืมความต้องการของตัวเองซะดื้อ ๆ แน่ล่ะ! “ภาวะสมองเสื่อม” แบบนี้ คงไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้นกับตัวเอง
โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ… อันตรายที่ใกล้แค่เอื้อม
โรคซึมเศร้า..น่าจะกลายเป็นโรคยอดฮิตในผู้คนยุคสมัยนี้ แต่ไม่ใช่แค่เพียงวัยกลางคนอย่างเราๆ เท่านั้นนะ เพราะในกลุ่มผู้สูงอายุ “โรคซึมเศร้า” ถือว่าเป็นอีกหนึ่งปัญหาใหญ่ที่พบได้มากกว่าวัยอื่น ๆ
ไขมันพอกตับป้องกันได้… แค่เลือกกิน
ถ้าพูดถึง “ไขมันพอกตับ” หลายคนอาจจะยังนึกไม่ออกว่าอันตรายร้ายแรงแค่ไหน แต่หากจะบอกว่า..ภาวะไขมันพอกตับ สามารถลุกลามและเกิดเป็น “ภาวะตับแข็ง” หรือ “โรคมะเร็งตับ” ได้
5 พฤติกรรมควรเลี่ยง หากไม่อยากเสี่ยง “ความดันโลหิตสูง”
ความดันโลหิตสูง โรคเรื้อรังที่เราได้ยินกันบ่อย ๆ แต่มักเข้าใจว่าเป็นเรื่องไกลตัว ทั้งที่จริง ๆ แล้ว “ความดัน” เกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันของเราเอง
ปวดคอแบบไหน? ที่ส่งสัญญาณว่า… ได้เวลาไปหาหมอ!
คอเป็นอวัยวะหนึ่งที่มีการใช้มากที่สุด ยิ่งการทำงานในยุคปัจจุบันคนต้องทำงานกับคอมพิวเตอร์ ต้องก้มหน้า เงยหน้าอยู่ตลอด ต้องใช้สมองมากทำให้เกิดความเครียด จึงเกิดอาการปวดคอได้ง่าย
สาวสีม่วง… ที่ผ่าตัดแปลงเพศแล้ว มีโอกาสเสี่ยงเป็นมะเร็งปากมดลูกหรือไม่?
เพราะมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับต้นๆ ของผู้หญิงทั่วโลกรวมถึงผู้หญิงไทย พอดีกับยุคสมัยที่ค่านิยมเรื่อง “การผ่าตัดแปลงเพศจากชายเป็นหญิง” เข้ามามีบทบาทมากขึ้น
แค่ “จัดฟัน” ก็เปลี่ยน “รูปหน้า” ได้จริงหรือ?
ไม่ว่าใครก็อยากมีฟันที่สวยงาม เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจและปรับสุขภาพช่องปาก “การจัดฟัน” จึงเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่หลายคนให้ความสนใจ
กระดูกเท้าผิดรูป… เกิดจากการ “ใส่ส้นสูง” จริงหรือ?
การสวมใส่รองเท้าส้นสูง ถือเป็นการสร้างความมั่นใจด้านบุคลิกภาพให้กับใครหลายคน แต่ภายใต้ความสวยงามนั้นก็มาพร้อมกับภัยแอบแฝงที่อาจส่งผลต่อร่างกายได้อย่างร้ายกาจเลยเช่นกัน
รู้หรือไม่? โรคกระดูกพรุน… ไม่ใช่แค่โรคของคนแก่เสมอไป
ถ้าคุณเป็นคนที่อายุยังไม่ถึงเลขห้า เราเชื่อว่าคุณเองก็คงคิดว่า “โรคกระดูกพรุน” นั้นเป็นเรื่องใกล้ตัว แต่รู้หรือไม่ว่าความจริงแล้ว โรคนี้สามารถเกิดกับคนในวัยหนุ่มสาวได้เช่นกัน
5 พฤติกรรมเสี่ยง… หลีกเลี่ยงปัญหา”นิ้วล็อค”
“มือ” เป็นอวัยวะสำคัญที่ต้องมีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะหยิบจับสิ่งของหรือใช้งานในกิจกรรมต่าง ๆ และจากพฤติกรรมการใช้งานของมือในแต่ละคน ก็มีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดภาวะนิ้วล็อคได้
ลักษณะไฝแบบไหน ไม่ปกติ
ไฝ หรือ ขี้แมลงวัน เกิดจากการรวมกลุ่มของเซลล์สร้างสีที่เรียกว่า เมลาโนซาย ซึ่งมีหน้าที่สร้างเม็ดสี เรียกว่า เมลานิน (melanin)ซึ่งเป็นตัวการทำให้เกิดสีผิว
“หัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน” เรื่องด่วนต้องรู้
โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่รุนแรง ( Heart Attack ) สามารถทำให้เสียชีวิตได้ โรคนี้จึงเป็นอีกหนึ่งโรคที่ต้องให้ความสำคัญเพราะทุกวินาทีหมายถึงชีวิต