หมอนรองกระดูก มีส่วนช่วยในการขยับของกระดูกสันหลัง
เชื่อว่าหลายคนเคยผ่านประสบการณ์ เช่น นั่งสวดมนต์ ไหว้พระนานๆ แล้วปวดเข่า ตะคริวกิน ต้องขยับไปมาหลายต่อหลายครั้งกว่าพิธีการนั้นจะจบ
โรคเก๊าท์ หนึ่งในโรคกระดูกและข้อที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ เกิดจากการกินโปรตีนบางชนิดมากเกินไป ซึ่งโปรตีนดังกล่าวจะย่อยสลายเป็นกรดยูริคไปตกตะกอนในข้อ
โรคกระดูกพรุน เป็นโรคที่เกิดจากความหนาแน่นของมวลกระดูกลดลง ซึ่งอาจเกิดจากโครงสร้างภายในของกระดูกถูกทำลาย
เมื่อคนเรามีอายุ 60ปี ขึ้นไป สภาพร่างกายเริ่มเสื่อมลง ร่างกายไม่กระฉับกระเฉงเหมือนตอนเป็นหนุ่มเป็นสาว ผิวหนังเริ่มเหี่ยว ระบบประสาทเริ่มเสื่อม
โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นโรคที่พบได้บ่อยมากในผู้สูงอายุ ทำให้เกิดอาการปวดเข่า บวมแดง เข่าฝืดยึด มีเสียงดังในเข่า
ร่างกายคนเรามีแคลเซียมประมาณร้อยละ1.5 ของน้ำหนักตัว ร้อยละ 99 อยู่ในกระดูกและฟันในรูปของเกลือแคลเซียมฟอสเฟต
คอ ประกอบไปด้วยกระดูกคอ 7 ชั้นเรียงต่อกัน หมอนรองกระดูก เอ็นยึดระหว่างกระดูก
ลักษณะอาการ ปวดข้อมือ ด้วยโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ ถือเป็นโรคซึ่งพบบ่อยมากโรคหนึ่งในวัยกลางคนถึงสูงอายุ
ข้อเท้า และเท้าของคนเราถือเป็นอวัยวะที่สำคัญไม่แพ้ส่วนอื่นใดในร่างกาย เพราะช่วยให้เราสามารถเดินไปไหนมาไหนได้สะดวกสบาย
“ขาโก่ง” เรื่องที่ดูธรรมดา แต่การรักษาไม่ใช่เรื่องธรรมดาทั่วไป
อุบัติเหตุจากการออกกำลังกาย สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดกับกีฬาทุกประเภท แต่กีฬาที่เกิดอาการบาดเจ็บได้ง่าย
มะเร็งกระดูก สามารถแบ่งออกเป็นได้เป็น 2 กลุ่ม คือ มะเร็งที่เกิดขึ้นจากกระดูกโดยตรงเป็นตำแหน่งเริ่มต้น
โรคกระดูกงอก เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เมื่อกระดูกเสื่อม แตก หัก ซึ่งร่างกายจะนำแคลเซียมไปซ่อมแซมและจะทำให้กระดูกนั้นๆ
ข้อไหล่ เป็นข้อต่อหนึ่งที่เคลื่อนไหวในทิศทางต่างๆ ได้มาก
การผ่าตัดดัดเข่า (High Tibial Osteotomy: HTO) เป็นการผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติของกระดูกบริเวณหัวเข่าให้กลับมาตรงตามธรรมชาติ
อาการ “กล้ามเนื้อ และเอ็นอักเสบ” สามารถเกิดขึ้นได้ง่าย โดยที่เราอาจไม่ทันระวังตัว
ปัจจุบันประชากรผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ประกอบกับวิถีชีวิตของคนในสังคมก็ดำเนินไปอย่างเร่งรีบและแข่งขัน
อาการปวดหลัง ภาวะที่พบบ่อย เป็นประสบการณ์ที่ทุกๆ คนต้องเคยเจอ
โดยทั่วไปจะทำการรักษาอาการของโรคกระดูกสันหลังระดับเอวเสื่อม โดยวิธีอนุรักษ์นิยมก่อนเสมอ
เฝือก คืออุปกรณ์ที่ใช้ดามกระดูก และข้อจากภายนอก เพื่อต้องการให้อวัยวะนั้นอยู่นิ่ง
รู้หรือไม่ว่า !! ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคกระดูกพรุนมากกว่า 2 ล้านคน ทุกๆ 3 วินาที จะมีคนกระดูกหัก
รู้จักโรคทางเส้นเอ็นและข้อมือ