เมื่อเริ่มเข้าสู่ฤดูกาลหน้าฝน หรือหน้าหนาว ร่างกายจะต้องรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ซึ่งหนึ่งในโรคที่มีโอกาสติดเชื้อไวรัส
ความเจ็บป่วยระหว่างการตั้งครรภ์ ไม่ใช่แค่สุขภาพของคุณแม่เท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่อเจ้าตัวเล็กในครรภ์ด้วย
การตัดสินใจว่าจะคลอดธรรมชาติหรือผ่าคลอดเป็นการตัดสินใจสำคัญที่คุณแม่ตั้งครรภ์ทุกคนต้องพบเจอ ในบทความนี้ เราจะเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของการคลอดทั้งสองแบบ เพื่อช่วยให้คุณแม่วางแผนการคลอดได้ง่ายยิ่งขึ้น
การตั้งครรภ์ในไตรมาสแรกเป็นช่วงเวลาสำคัญที่ร่างกายของลูกน้อยจะค่อย ๆ มีพัฒนาการ ซึ่งคุณแม่ในช่วงนี้จึงเสี่ยงเกิดภาวะอันตรายต่อครรภ์ได้ทุกเวลา
วัคซีนเป็นวิธีป้องกันโรคอีกหนึ่งวิธี ที่จะช่วยให้เด็กๆมีภูมิคุ้มกันต่อโรคต่างๆ ได้ในระดับหนึ่ง
องค์การอนามัยโลก (WHO) แนะนำให้ทารกดื่มน้ำนมแม่อย่างเดียวจนถึงอายุ 6 เดือน
การได้ออกไปเที่ยวต่างจังหวัด ออกไปสัมผัสธรรมชาติ สำหรับเด็กน้อยนั้นถือเป็นเรื่องดี
เมื่อลูกไปโรงเรียนในยุค New Normal ต้องเตรียมพร้อมเสริมสร้างให้ลูกมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
ช่วงวัยเด็กตั้งแต่แรกเกิด – 15 ปี ระบบภูมิคุ้มกันยังคงไม่มีประสิทธิภาพมากพอ เป็นสาเหตุให้เด็กน้อยเจ็บป่วยได้ง่าย
ควรใช้แปรงสีฟันสำหรับเด็กตั้งแต่มีฟันซี่แรก เลือกยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์อย่างน้อย 1,000 ppm
คุณพ่อ คุณแม่หลาย ๆ ท่านคงจะตื่นเต้นกับทุกช่วงพัฒนาการเติบโตของทารกน้อยในครรภ์
ภาวะครรภ์เสี่ยงสูง(High risk pregnancy) คือ การตั้งครรภ์ที่มีภาวะหรือปัจจัยอื่นร่วมด้วย ที่มีโอกาสทำให้เกิดอันตรายแก่มารดาและทารกในครรภ์
คลายความกังวลใจ เพิ่มความมั่นใจให้สุขภาพของลูกรักในครรภ์ ด้วยการตรวจคัดกรองความผิดปกติของโครโมโซม (NIPT)
IPD ย่อมาจาก Invasive Pneumococcal Disease คือโรคติดเชื้อ ที่มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่ชื่อว่า นิวโมคอคคัส
การที่เด็กเล็กอยู่หน้าจอ อาจมีปัญหาด้านพัฒนาการทางภาษา และส่งผลเสียทางด้านสายตา รวมถึงพฤติกรรม อารมณ์ และการนอนหลับ
การเลี้ยงลูกให้มีการพัฒนาด้าน EF หรือ Executive Function ที่ดีนั้น จะทำให้ลูกควบคุมความคิด อารมณ์ การตัดสินใจ และการกระทำได้ดี
ลูกรักเปิดเทอม พ่อแม่ควรระวัง โรคติดเชื้อที่เด็ก ๆ มักติดมาจากโรงเรียน ช่วงเปิดเทอม
ท้องร่วง เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี และมีแนวโน้มพบผู้ป่วยด้วยโรคท้องร่วงมากขึ้นทุกปี โดยพบว่าเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี
การตั้งครรภ์ เป็นช่วงเวลาที่มีคุณค่าสำหรับผู้หญิง เพราะการเริ่มมีอีกหนึ่งชีวิตในร่างกายของเราถือเป็นความมหัศจรรย์ ที่คุณแม่มือใหม่จะได้เรียนรู้พัฒนาการของทารกในครรภ์ ในแต่ละเดือน
การฝากครรภ์มีความสำคัญมากสำหรับว่าที่คุณแม่และทารกในครรภ์ โดยคุณแม่จะได้รับคำแนะนำ ความรู้ความเข้าใจในการดูแลทารกในครรภ์ได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย รวมทั้งยังสามารถเห็นถึงพัฒนาการและการเจริญเติบโตของลูกน้อยตั้งแต่อยู่ในครรภ์ของคุณแม่
อาการท้องผูก (constipation) หมายถึง อาการถ่ายอุจจาระที่ผิดปกติ ได้แก่ ถ่ายห่างมากหรือถ่ายยากผิดปกติเป็นเวลานานอย่างน้อย 2 สัปดาห์ และมีผลกระทบต่อผู้ป่วย
พัฒนาการ (Development) คือ กระบวนการเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะในร่างกาย และตัวบุคคล ทำให้สามารถทำสิ่งที่ยากและซับซ้อนขึ้นได้ โดยมีการเพิ่มทักษะใหม่ ๆ และความสามารถในการปรับตัว เพื่อให้บุคคลนั้น
โรคมือเท้าปาก เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอนเทอโร มักระบาดในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี พบมากในช่วงหน้าฝน ปัจจุบันสามารถป้องกันและลดความเสี่ยงได้ด้วยการฉีดวัคซีนมือเท้าปาก
การฝากครรภ์ ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการเตรียมความพร้อมดูแลสุขภาพด้านต่างๆ ทั้งของแม่และทารกน้อยในครรภ์
พัฒนาการด้านความฉลาดของลูก สามารถส่งเสริมและสร้างได้ ตั้งแต่ในท้องจนถึงช่วง 3 ขวบปีแรก
ลูกแพ้นม เป็นความเสี่ยงด้านสุขภาพที่พบได้บ่อยในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 1 ปี
สายตาผิดปกติ นั้นแบ่งเป็น สายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง
ช่วงอายุที่เหมาะสมในการเข้าเรียนของลูกนั้นไม่มีตัวเลขตายตัว แต่เราควรพิจารณาถึงความพร้อมของลูก
ช่วงเวลาของการตั้งครรภ์ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงของร่างกายตลอดเวลา คุณแม่จึงควรเฝ้าระวังและสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ
โรคติดเชื้อในเด็ก ถือเป็นกลุ่มโรคที่พบบ่อยในเด็กเล็ก สาเหตุจากการติดเชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย หรือติดเชื้อพยาธิ ( Parasite )