ช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการตรวจคลำเต้านมด้วยตนเอง คือ 7-10 วันหลังจากวันสุดท้ายของรอบเดือน เพราะเป็นช่วงที่เต้านมไม่มีการคัดตึงแล้ว จึงเกิดความผิดพลาดได้น้อย
มะเร็งเต้านม เป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของผู้หญิงไทยที่มีอายุมากกว่า 35 ปี ขึ้นไป
เราอาจจะเคยได้ยินเรื่อง “การขูดมดลูก” มาบ้างแต่น้อยคนนักที่จะเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการตรวจรักษานี้ บางคนเข้าใจว่าการขูดมดลูกไม่อันตราย แต่ให้ผลลัพธ์ดีที่สุดและไม่เสี่ยงภาวะแทรกซ้อนใด ๆ
การกินยาคุมฉุกเฉินบ่อยๆ และต่อเนื่องเป็นเวลานาน อาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงเชิงลบได้โดยที่คุณไม่รู้ตัว แต่จะมีอะไรบ้าง เรามีคำตอบ
วัคซีน HPV หรือวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก ซึ่งปัจจุบันชนิด 9 สายพันธุ์ เพราะจะมีผลลัพธ์มากกว่าถึง 99%
การตรวจดิจิตอลแมมโมแกรม ผู้หญิงหลายคนอาจเคยได้ยินกันบ้างแล้วว่าเป็นการตรวจหาความผิดปกติของเต้านม เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านม
“ปวดท้องประจำเดือน” เป็นปัญหากวนใจที่ผู้หญิงเกือบทุกคนคงหนีไม่พ้น ซึ่งกี่ครั้งกี่หนก็ต้องทนกับอาการปวดประจำเดือน จนตัวขดตัวงอทุกเดือน
มะเร็งปากมดลูก คงเป็นโรคที่ผู้หญิงทุกคนอาจเคยได้ยิน หรืออาจรู้สึกกังวลว่าตัวเองจะเสี่ยงเป็นไหม แล้วมีปัจจัยเสี่ยงอะไรบ้างที่ทำให้เสี่ยงเป็นมะเร็งปากมดลูก
ประจำเดือนที่ผิดปกติไปจากเดิม มักแสดงถึงภาวะร่างกายที่ขาดสมดุลบางอย่าง มีการติดเชื้อ หรือมีโรคที่แอบซ่อนอยู่ ดังนั้น ผู้หญิงทุกคนจึงควรหมั่นสังเกตลักษณะของประจำเดือน เพื่อการรู้เท่าทัน จะได้รีบไปพบแพทย์
กลุ่มอาการ PMS มักทำให้ผู้หญิงรู้สึกไม่สบายตัวก่อนมีประจำเดือน อารมณ์แปรปรวนง่ายและร่างกายไม่ปกติ ซึ่งจะหายได้เองหลังประจำเดือนมาแล้ว ดังนั้นผู้หญิงจึงควรดูแลตัวเองให้ดีเพื่อลดความรุนแรงของกลุ่มอาการ
ผู้หญิงหลายคนอาจรู้สึกไม่มั่นใจเวลาที่มีกลิ่นที่จุดซ่อนเร้นทำให้หลายคนเลือกที่จะปกปิด แต่รู้หรือไม่ว่านั่นคือการตัดสินใจที่ผิด เพราะสิ่งที่ควรทำคือต้องรีบหาสาเหตุให้เจอ เพื่อจะได้รักษาให้ถูกต้องและตรงจุดที่สุด
มะเร็งรังไข่ในระยะเริ่มต้นมักไม่แสดงอาการให้รู้สึก แต่เราสามารถตรวจพบมะเร็งรังไข่ได้ก่อน ด้วยการตรวจภายในและตรวจอัลตร้าซาวด์มดลูกรังไข่อย่างน้อยปีละครั้ง
โรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเเรกมักไม่ค่อยมีอาการแสดงที่ชัดเจน แต่เมื่อเข้าสู่ระยะที่ 2 มักมีเลือดออกทางช่องคลอดแบบผิดปกติ
ผู้หญิงทุกคนต้องหมั่นสังเกตความผิดปกติของร่างกายและเข้ารับการตรวจภายในเพื่อคัดกรองโรค เช่น มะเร็งปากมดลูก และเรายังสามารถลดความเสี่ยงได้ด้วยการตรวจแปปสเมียร์ และฉีดวัคซีน HPV
“การปวดประจำเดือน” เป็นอาการที่กวนใจสาวๆ กันเกือบแทบทุกคน บางคนปวดน้อย บางคนปวดมาก จนถึงกับขยับตัวไม่ไหวเลยก็มี
“ซีสต์หรือถุงน้ำรังไข่” โรคที่คุณผู้หญิงทุกคนอาจเสี่ยงเป็น หากไม่ดูแลสุขภาพของตัวเอง
“มะเร็งปากมดลูก” เป็นมะเร็งที่ป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีน HPV และเข้ารับการตรวจคัดกรองอย่างสม่ำเสมอเพื่อเฝ้าระวัง เพียงแค่เลิกเขินหรือหยุดอายและทำตามคำแนะนำของแพทย์ ก็จะทำให้เราห่างไกลจากคำว่ามะเร็งปากมดลูกได้ไม่ยาก
นอกจากการดูแลตัวเองภายนอกแล้ว เรื่องของภายในก็เป็นสิ่งที่สาวๆ ไม่ควรมองข้าม เพราะสุขภาพภายใน ย่อมส่งผลโดยตรงต่อภายนอก บางครั้งถ้าสาวๆ ละเลย อาการหรือสัญญาณของความผิดปกติ
“เลือดออกเวลามีเพศสัมพันธ์” หนึ่งในสัญญาณเตือน มะเร็งปากมดลูก
สำหรับสาวๆ คนไหนที่พยายามหลีกเลี่ยงการตรวจมะเร็งปากมดลูกกันอยู่ ลองอ่านสิ่งที่เรากำลังจะบอกนี้ดู และคุณจะเห็นว่าการตรวจมะเร็งปากมดลูกนั้นไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คุณคิด และที่สำคัญ
มะเร็งนรีเวช ทั้งมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งรังไข่ อาการในระยะแรกๆ จะไม่ปรากฏชัดจนสังเกตเองได้ การตรวจคัดกรองจึงมีความจำเป็น เพราะจะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคและรักษาได้ทันท่วงที
รู้สึกเขินอาย และเสียความมั่นใจในตัวเองไปเยอะเลยเวลาที่ น้องสาวมีกลิ่นไม่ปกติ
“ภาวะมีบุตรยาก” แนวโน้มที่มีแต่จะเพิ่มขึ้นทุกวัน สำหรับคู่สมรสหลายคู่ที่ "อยากมีลูก"
“ภาวะมีบุตรยาก” บางคนคู่อาจพบเจอกับปัญหานี้ “หลังแต่งงานกัน”
“การผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวช” เทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ออกแบบมาเพื่อตอบโจทย์การรักษา “โรคทางนรีเวช”
โรคมะเร็งปากมดลูกมีสาเหตุสำคัญมาจากการติดเชื้อ HPV ซึ่งติดได้จากการมีเพศสัมพันธ์เพียงแค่ครั้งเดียว การตรวจพบเชื้อเร็วจะช่วยให้เกิดการป้องกันการเป็นมะเร็งปาดมดลูกได้ดี
การตรวจสุขภาพก่อนสมรส เป็นการเช็คความพร้อมและความสมบูรณ์ของร่างกายหรือความบกพร่องทางพันธุกรรมก่อนจะมีบุตร
ในปัจจุบัน ผู้คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าเชื้อ HPV มักจะเกิดเฉพาะในผู้หญิง แต่จริง ๆ แล้วผู้ชายสามารถติดเชื้อ HPV ได้
ยิ่งโลกก้าวหน้าไปมากเท่าไหร่ สุขภาพก็เป็นอีกหนึ่งเรื่องที่เราไม่ควรมองข้าม โดยเฉพาะผู้หญิงเราที่ต้องดูแลตัวเองให้มากเป็นพิเศษ ถึงจะไม่ร้ายแรงขนาดเป็นมะเร็ง แต่คงไม่มีใครอยากเข้าข่ายเป็นโรคยอดฮิต 4 โรคนี้ที่ผู้หญิงส่วนใหญ่เป็นกัน
การตรวจภายในไม่ใช่เรื่องผิดปกติอะไร แม้ผู้หญิงจะโสดหรือไม่ก็ตาม และแม้จะไม่มีความผิดปกติใด ๆ เลยก็ตาม ก็สามารถตรวจภายในได้เป็นประจำทุกปี เพราะยิ่งเท่ากับทำให้รู้สึกมั่นใจในสุขภาพภายในของเรานั่นเอง