โลหิตจาง เกิดได้จากหลายสาเหตุ
ภาวะเลือดจาง หรือ โลหิตจาง เป็นภาวะที่เม็ดเลือดแดงมีปริมาณลดลงกว่าปกติ ส่งผลให้ร่างกายนำออกซิเจนไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ได้น้อยลง
4 โรคยอดฮิตในเด็ก ที่มากับหน้าฝน
ในฤดูฝน เมื่อฝนตกอากาศก็จะเย็นลง แถมยังมีความชื้นสูง ทำให้เชื้อโรคหลายชนิดเจริญเติบโตได้ดี คุณพ่อคุณแม่จึงควรเตรียมพร้อมปกป้องลูกน้อยให้ห่างไกลจากโรคติดเชื้อเหล่านี้
บอกลานิ่วถุงน้ำดี ด้วยการผ่าตัดผ่านกล้อง
การผ่าตัดผ่านกล้องนิ่วถุงน้ำดี ช่วยให้แพทย์มองเห็นชัด จึงผ่าตัดในจุดที่ต้องการเท่านั้น ลดการกระทบกับอวัยวะหรือเนื้อเยื่ออื่นๆ คนไข้จะมีแผลเพียงเล็กๆ เจ็บน้อย และฟื้นตัวไว
ก่อนตรวจสุขภาพ เตรียมตัวอย่างไรดี
เมื่ออายุมากขึ้น ร่างกายของเราก็จะเริ่มถดถอย โรคภัยต่าง ๆ อาจจะเข้ามาหาเราโดยไม่ทันตั้งตัว การตรวจสุขภาพเป็นประจำทุกปี
ตรวจสุขภาพจำเป็นต้องงดน้ำ งดอาหาร ทุกครั้งไหม
ในอดีตการตรวจสุขภาพประจำปีถือเป็นเรื่องยุ่งยากพอสมควร เนื่องจากจะต้องเตรียมตัวก่อนตรวจสุขภาพหลายอย่าง เช่น ต้องงดอาหาร 8 – 10 ชั่วโมงก่อนเจาะเลือด
ต้อกระจก ภัยร้ายของดวงตา
ต้อกระจกอีกหนึ่งภัยร้ายของดวงตา โดยมีภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดการขุ่นของ “เลนส์ตา” ซึ่งปกติเลนส์ตาจะมีลักษณะใส
เช็คความเสี่ยงโรคหัวใจ ด้วยการตรวจคลื่นความถี่ ECHO
รู้ไหมว่า? “ในแต่ละปีมีคนไทยเสียชีวิตจากโรคหัวใจมากถึง 50,000 คน หรือ เฉลี่ยเท่ากับ 6 คนเสียในทุกๆ 1 ชั่วโมง” เลยทีเดียว
วินิจฉัยความเสี่ยงของหัวใจให้ปลอดภัย...ด้วยการตรวจ EST
อาการเจ็บหน้าอกที่มักเกิดขึ้นตอนที่ร่างกายกำลังได้ใช้กำลัง อาจบ่งบอกถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้นจาก “โรคหัวใจ” ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มโรคที่มักไม่แสดงอาการชัดเจน ดังนั้นจึงมีการตรวจคัดกรองโรคหัวใจที่เป็นการตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย หรือที่รู้จักกันในชื่อ EST
การตรวจ Echo หัวใจคืออะไร...ทำไมต้องตรวจ?
การตรวจ Echo หัวใจสามารถตรวจประเมินประสิทธิภาพของหัวใจ เช่น รูปร่างหรือขนาดของห้องหัวใจ การบีบและคลายตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ การทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจและลิ้นหัวใจ การไหลเวียนเลือดในหัวใจ รวมถึงตำแหน่งของหลอดเลือดที่เข้าและออกจากหัวใจว่ามีความผิดปกติหรือไม่
ตรวจภายใน...ไม่ได้น่ากลัวอย่างที่หลายคนคิด
การตรวจภายใน (Pelvic Exam) เป็นการตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะเพศภายในของผู้หญิง ซึ่งการตรวจภายในจะตรวจทั้งช่องคลอด ปากมดลูก มดลูก รังไข่ กระเพาะปัสสาวะ และลำไส้ใหญ่ด้านล่าง เพื่อตรวจหาความผิดปกติหรือรอยโรคที่เราไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
MIS นวัตกรรมการผ่าตัดผ่านกล้อง
การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echo)
ผู้ที่มีอาการหอบ เหนื่อย หายใจลำบาก ซึ่งสงสัยว่าอาจเกิดจากโรคหัวใจ และผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echo) จะช่วยให้เห็นความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทั้งรูปร่าง ขนาด และการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจและลิ้นหัวใจ
การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย (EST)
ผู้ที่มีอาการหอบ เหนื่อยง่าย หายใจลำบาก ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง จะมีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบและโรคทางหัวใจอื่นๆ การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย (EST) จะช่วยให้เห็นถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้นได้
สัญญาณเตือน มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม (Breast Cancer) เป็นโรคมะเร็งที่เกิดขึ้นจากการเติบโตผิดปกติของเซลล์ในเนื้อเยื่อเต้านม ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นของร่างกายได้ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่สำคัญอันดับ 1 ของผู้หญิงไทย และจะมีความเสี่ยงต่อโรคเมื่ออายุมากขึ้น
โรคอัลไซเมอร์ รู้ให้เร็ว ก่อนเสี่ยงภาวะเสื่อมรุนเเรง
อัลไซเมอร์ เป็นปัญหาสุขภาพที่ผู้สูงอายุมักจะไม่รู้ตัวว่าตัวเองเป็นโรคนี้ ซึ่งส่วนใหญ่จะพบในผู้สูงอายุที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป โดยจะสังเกตุจากพฤติกรรม และอารมณ์ที่เปลี่ยนไป
โรคท้องผูก...ไม่ใช่แค่เพียงปัญหาด้านการถ่าย
โรคท้องผูก (Constipation) คือ โรคที่เกี่ยวกับการขับถ่าย เนื่องมาจากการที่ลำไส้มีการบีบตัวหรือเคลื่อนตัวช้าในระหว่างการย่อยอาหาร ทำให้ร่างกายไม่สามารถขับถ่ายอุจจาระออกจากระบบทางเดินอาหารได้ตามปกติ
NCDs จุดเริ่มต้นของสารพัดโรค
โรค NCDs หรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นอีกหนึ่งปัญหาสุขภาพอันดับต้น ๆ ของประเทศไทยเลยก็ว่าได้ และยังเป็นอีกหนึ่งในสาเหตุของการเสียชีวิตมากกว่าร้อยละ 70 ของการเสียชีวิตทั้งหมด
ฝุ่น PM2.5 มลพิษร้ายทำลายปอด
ฝุ่น PM2.5 สามารถผ่านการกรองของขนจมูกและเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจไปจนถึงชั้นในสุดของปอดได้ ซึ่งหากมีการสะสมในร่างกายมากๆ อาจทำให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ โรคหลอดเลือดและหัวใจเรื้อรัง โรคปอดเรื้อรัง ไปจนถึงมะเร็งปอดได้
อาการป่วยแบบไหนที่ต้องพาลูกน้อยมาแอดมิท
ทุกครั้งที่ลูกน้อยป่วย หรือมีอาการผิดปกติใด ๆ คุณพ่อคุณแม่จะรู้สึกกังวลเสมอ ดังนั้นเมื่อลูกน้อยมีอาการป่วยแบบไหนที่ควรรีบพาลูกไปพบแพทย์ โดยไม่รอช้า
โรคปอดอักเสบ อันตรายที่ไม่ควรมองข้าม
โรคปอดอักเสบคืออาการอักเสบของเนื้อปอดที่มักเกิดจากการติดเชื้อ ซึ่งสามารถเกิดจากแบคทีเรีย, ไวรัส, หรือเชื้อราได้ อาการหลักๆ ของโรคปอดอักเสบ ได้แก่ ไข้สูง, ไอ, เจ็บหน้าอกเมื่อหายใจหรือไอ, และหายใจลำบาก
เอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีก หากไม่รีบรักษา เสี่ยงข้อเข่าเสื่อมในอนาคต
ในกลุ่มนักกีฬาที่ต้องวิ่งหรือกระโดดเป็นประจำโดยเฉพาะการวิ่งที่ต้องเปลี่ยนทิศทางอย่างรวดเร็ว เช่น นักฟุตบอล นักบาสเกตบอล แบตมินตัน สกี เป็นต้น อาการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา เจ็บเข่า หรือเข่าบวม มักมาจากอาการบาดเจ็บหรือการฉีกขาดของเอ็นหัวเข่า โดยเฉพาะเอ็นไขว้หน้า
ยกเวท ยกของหนัก อาจทำให้เอ็นไหล่ฉีกขาด
เส้นเอ็นไหล่ฉีกขาด (Rotator Cuff Tears/Rotator Cuff Injury) เป็นการบาดเจ็บของเส้นเอ็นหัวไหล่
โรคทางนรีเวช ที่พบบ่อยในคุณผู้หญิง
โรคทางนรีเวช (Gynecological diseases) เป็นกลุ่มโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบสืบพันธุ์ของคุณหญิง
รู้ไว้...วัคซีนที่ผู้สูงอายุควรได้รับ
สิ่งที่มาพร้อมกับอายุที่เพิ่มขึ้นไม่ได้มีเพียงตัวเลข แต่รวมไปถึงสุขภาพที่มีความเสื่อมถอยลง โดยเฉพาะกับระบบภูมิคุ้มกันต่อโรคต่างๆ ที่เป็นสิ่งที่เราไม่สามารถวัดได้ด้วยสายตาเปล่าๆ เนื่องจากภูมิคุ้มกันมีหน้าที่ในการปกป้องร่างกายจากอันตรายจากเชื้อโรคต่างๆ
เอกซเรย์ คืออะไร? ทำไมต้องตรวจ
เอกซเรย์ (X-ray) เป็นการตรวจร่างกายโดยการฉายรังสีเอกซ์ไปยังอวัยวะที่ต้องการตรวจ เพื่อดูความผิดปกติของโครงสร้างต่างๆ เช่น กระดูก หรืออวัยวะภายในร่างกาย
ท้องผูกมีเลือดปน หนีไม่พ้นริดสีดวง
ข้อเข่ายังดีอยู่ไหม เช็กได้ด้วยการเอกซเรย์
รู้ไหม? ชอบนั่งขัดสมาธิ นั่งยองๆ เป็นประจำ หรือคุกเข่าบ่อยๆ แบบนี้ คุณกำลังทำร้ายข้อเข่าโดยไม่รู้ตัว เช็คด่วน! อาการแบบไหนที่ใช่...ข้อเข่าเสื่อมก่อนวัยอันควร
กระดูกพรุนรู้ได้...ด้วยการตรวจมวลกระดูก
ภาวะกระดูกพรุน เป็นโรคที่ไม่แสดงอาการ และไร้สัญญาณเตือนใดๆ ทำให้ไม่สามารถทราบได้ว่าเป็นจนกระทั่งกระดูกหัก ในกรณีร้ายแรงอาจส่งให้พิการหรือเสียชีวิตได้ ผู้สูงอายุทุกคนจึงควรเข้ารับการตรวจความหนาแน่นมวลกระดูก เพื่อให้รู้เท่าทันและสามารถป้องกันความเสี่ยงได้
อัลตราซาวด์มดลูกและรังไข่ คัดกรองป้องกันโรคร้าย ตรวจง่ายเห็น
ประจำเดือนมามากผิดปกติ ปวดท้องบ่อย คลำพบก้อนในช่องท้องต้องรีบพบแพทย์เพื่อตรวจอัลตราซาวด์มดลูกและรังไข่ ที่จะช่วยให้เห็นรอยโรคและวินิจฉัยได้อย่างชัดเจน
ตกขาวผิดปกติ อาการเตือน "มะเร็งปากมดลูก" ที่ไม่ควรละเลย
จากสถิติพบว่า..ผู้หญิงไทยป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูก โดยเฉลี่ยปีละ 6,000 ราย และเสียชีวิตสูงถึง 7 คนต่อวัน โดยมีสาเหตุหลักๆ มาจาก “การติดเชื้อ HPV”