สัญญาณเตือน มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม (Breast Cancer) เป็นโรคมะเร็งที่เกิดขึ้นจากการเติบโตผิดปกติของเซลล์ในเนื้อเยื่อเต้านม ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นของร่างกายได้ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่สำคัญอันดับ 1 ของผู้หญิงไทย และจะมีความเสี่ยงต่อโรคเมื่ออายุมากขึ้น
โรคอัลไซเมอร์ รู้ให้เร็ว ก่อนเสี่ยงภาวะเสื่อมรุนเเรง
อัลไซเมอร์ เป็นปัญหาสุขภาพที่ผู้สูงอายุมักจะไม่รู้ตัวว่าตัวเองเป็นโรคนี้ ซึ่งส่วนใหญ่จะพบในผู้สูงอายุที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป โดยจะสังเกตุจากพฤติกรรม และอารมณ์ที่เปลี่ยนไป
โรคท้องผูก...ไม่ใช่แค่เพียงปัญหาด้านการถ่าย
โรคท้องผูก (Constipation) คือ โรคที่เกี่ยวกับการขับถ่าย เนื่องมาจากการที่ลำไส้มีการบีบตัวหรือเคลื่อนตัวช้าในระหว่างการย่อยอาหาร ทำให้ร่างกายไม่สามารถขับถ่ายอุจจาระออกจากระบบทางเดินอาหารได้ตามปกติ
NCDs จุดเริ่มต้นของสารพัดโรค
โรค NCDs หรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นอีกหนึ่งปัญหาสุขภาพอันดับต้น ๆ ของประเทศไทยเลยก็ว่าได้ และยังเป็นอีกหนึ่งในสาเหตุของการเสียชีวิตมากกว่าร้อยละ 70 ของการเสียชีวิตทั้งหมด
ฝุ่น PM2.5 มลพิษร้ายทำลายปอด
ฝุ่น PM2.5 สามารถผ่านการกรองของขนจมูกและเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจไปจนถึงชั้นในสุดของปอดได้ ซึ่งหากมีการสะสมในร่างกายมากๆ อาจทำให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ โรคหลอดเลือดและหัวใจเรื้อรัง โรคปอดเรื้อรัง ไปจนถึงมะเร็งปอดได้
อาการป่วยแบบไหนที่ต้องพาลูกน้อยมาแอดมิท
ทุกครั้งที่ลูกน้อยป่วย หรือมีอาการผิดปกติใด ๆ คุณพ่อคุณแม่จะรู้สึกกังวลเสมอ ดังนั้นเมื่อลูกน้อยมีอาการป่วยแบบไหนที่ควรรีบพาลูกไปพบแพทย์ โดยไม่รอช้า
โรคปอดอักเสบ อันตรายที่ไม่ควรมองข้าม
โรคปอดอักเสบคืออาการอักเสบของเนื้อปอดที่มักเกิดจากการติดเชื้อ ซึ่งสามารถเกิดจากแบคทีเรีย, ไวรัส, หรือเชื้อราได้ อาการหลักๆ ของโรคปอดอักเสบ ได้แก่ ไข้สูง, ไอ, เจ็บหน้าอกเมื่อหายใจหรือไอ, และหายใจลำบาก
เอ็นไขว้หน้าข้อเข่าฉีก หากไม่รีบรักษา เสี่ยงข้อเข่าเสื่อมในอนาคต
ในกลุ่มนักกีฬาที่ต้องวิ่งหรือกระโดดเป็นประจำโดยเฉพาะการวิ่งที่ต้องเปลี่ยนทิศทางอย่างรวดเร็ว เช่น นักฟุตบอล นักบาสเกตบอล แบตมินตัน สกี เป็นต้น อาการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา เจ็บเข่า หรือเข่าบวม มักมาจากอาการบาดเจ็บหรือการฉีกขาดของเอ็นหัวเข่า โดยเฉพาะเอ็นไขว้หน้า
ยกเวท ยกของหนัก อาจทำให้เอ็นไหล่ฉีกขาด
เส้นเอ็นไหล่ฉีกขาด (Rotator Cuff Tears/Rotator Cuff Injury) เป็นการบาดเจ็บของเส้นเอ็นหัวไหล่
โรคทางนรีเวช ที่พบบ่อยในคุณผู้หญิง
โรคทางนรีเวช (Gynecological diseases) เป็นกลุ่มโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบสืบพันธุ์ของคุณหญิง
รู้ไว้...วัคซีนที่ผู้สูงอายุควรได้รับ
สิ่งที่มาพร้อมกับอายุที่เพิ่มขึ้นไม่ได้มีเพียงตัวเลข แต่รวมไปถึงสุขภาพที่มีความเสื่อมถอยลง โดยเฉพาะกับระบบภูมิคุ้มกันต่อโรคต่างๆ ที่เป็นสิ่งที่เราไม่สามารถวัดได้ด้วยสายตาเปล่าๆ เนื่องจากภูมิคุ้มกันมีหน้าที่ในการปกป้องร่างกายจากอันตรายจากเชื้อโรคต่างๆ
เอกซเรย์ คืออะไร? ทำไมต้องตรวจ
เอกซเรย์ (X-ray) เป็นการตรวจร่างกายโดยการฉายรังสีเอกซ์ไปยังอวัยวะที่ต้องการตรวจ เพื่อดูความผิดปกติของโครงสร้างต่างๆ เช่น กระดูก หรืออวัยวะภายในร่างกาย
ท้องผูกมีเลือดปน หนีไม่พ้นริดสีดวง
ผ่าตัดผ่านกล้อง “นิ่วในถุงน้ำดี” ทางเลือกใหม่ที่สบายตัวกว่า
ข้อเข่ายังดีอยู่ไหม เช็กได้ด้วยการเอกซเรย์
รู้ไหม? ชอบนั่งขัดสมาธิ นั่งยองๆ เป็นประจำ หรือคุกเข่าบ่อยๆ แบบนี้ คุณกำลังทำร้ายข้อเข่าโดยไม่รู้ตัว เช็คด่วน! อาการแบบไหนที่ใช่...ข้อเข่าเสื่อมก่อนวัยอันควร
กระดูกพรุนรู้ได้...ด้วยการตรวจมวลกระดูก
ภาวะกระดูกพรุน เป็นโรคที่ไม่แสดงอาการ และไร้สัญญาณเตือนใดๆ ทำให้ไม่สามารถทราบได้ว่าเป็นจนกระทั่งกระดูกหัก ในกรณีร้ายแรงอาจส่งให้พิการหรือเสียชีวิตได้ ผู้สูงอายุทุกคนจึงควรเข้ารับการตรวจความหนาแน่นมวลกระดูก เพื่อให้รู้เท่าทันและสามารถป้องกันความเสี่ยงได้
อัลตราซาวด์มดลูกและรังไข่ คัดกรองป้องกันโรคร้าย ตรวจง่ายเห็น
ประจำเดือนมามากผิดปกติ ปวดท้องบ่อย คลำพบก้อนในช่องท้องต้องรีบพบแพทย์เพื่อตรวจอัลตราซาวด์มดลูกและรังไข่ ที่จะช่วยให้เห็นรอยโรคและวินิจฉัยได้อย่างชัดเจน
ตกขาวผิดปกติ อาการเตือน "มะเร็งปากมดลูก" ที่ไม่ควรละเลย
จากสถิติพบว่า..ผู้หญิงไทยป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูก โดยเฉลี่ยปีละ 6,000 ราย และเสียชีวิตสูงถึง 7 คนต่อวัน โดยมีสาเหตุหลักๆ มาจาก “การติดเชื้อ HPV”
ตรวจแคลเซียมในหลอดเลือดหัวใจ รู้ทันป้องกัน "โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ"
“โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ-ตัน” เป็นโรคที่ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากเป็นอันดับสองรองจาก “โรคมะเร็ง”
คัดกรอง 'มะเร็งตับ' รู้ทันได้ ก่อนโรคลุกลาม!
มะเร็งตับอาจเริ่มเกิดที่ตับโดยตรง หรือลุกลามมาจากมะเร็งในอวัยวะอื่นมายังตับ ซึ่งการเกิดที่ตับโดยตรง มักเกิดจากปัจจัยเสี่ยงสำคัญหลายอย่าง การตรวจคัดกรองก็เพื่อป้องกันและรักษาได้ทันหากพบเร็ว
เช็กระดับกรดยูริค...สัญญาณเตือนเสี่ยงเก๊าต์
แม้โรคเก๊าต์จะรักษาได้ด้วยการกินยา แต่การตรวจพบความเสี่ยงเร็วก็จะช่วยให้เกิดการป้องกันที่ดี ลดการลุกลาม และไม่ทำให้เกิดความเจ็บปวดเพราะยังไม่มีการอักเสบตามข้อได้
ก่อนออกเดินทาง...ควรตรวจอะไรให้ไร้กังวล
การตรวจสุขภาพก่อนออกเดินทางก็จะคล้ายกับการตรวจร่างกายทั่วไป เช่น วัดความดัน วัดสายตา ตรวจเลือดตรวจปัสสาวะ ตรวจอุจจาระ เอกซเรย์ปอด และทำการตรวจคัดกรองโรคต่างๆ ตามที่ประเทศปลายทางระบุ เช่น โรคปอด วัณโรคปอด ไวรัสตับอักเสบบี โรคเรื้อน โรคซิฟิลิส หรือ HIV เป็นต้น และนอกจากการตรวจสุขภาพแล้ว การได้รับวัคซีนก็สำคัญเช่นกัน ในการเดินทางไปอย่างมั่นใจ และราบรื่น
“Heatstroke” โรคอันตรายในหน้าร้อน
Heatstroke หรือ “โรคลมแดด” เป็นภาวะที่ร่างกายมีความร้อนสูงโดยไม่สามารถระบายออกได้ พบบ่อยในช่วงหน้าร้อน มักเป็นในขณะที่มีการใช้แรงหรือออกกำลังกายอย่างหนักในสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูง
โรคกรดไหลย้อนอย่าละเลย! เพราะคุณอาจเสี่ยงเป็น “มะเร็งหลอดอาหาร”
รู้ก่อน…ป้องกันได้ การสึกหรอของน้ำหล่อเลี้ยงข้อเข่า
น้ำเลี้ยงข้อ (Synovial fluid) เป็นส่วนประกอบสำคัญอย่างหนึ่งในข้อต่อ (Joints) ช่วยให้เคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ แต่เมื่อไรที่ข้อต่อเริ่มมีพยาธิสภาพไม่ดีจะยิ่งกระตุ้นให้ส่วนประกอบในข้อ รวมถึงน้ำเลี้ยงข้อจะเสียคุณสมบัติไปด้วย
MIS นวัตกรรมการผ่าตัดผ่านกล้อง
MIS นวัตกรรมการผ่าตัดผ่านกล้อง รักษาตรงจุด ให้ชีวิตง่ายกว่าเดิม
สุขภาพดี ห่างไกลไข้หวัดใหญ่
โรคไข้หวัดใหญ่ สาเหตุการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ (Influenza) อย่างเฉียบพลัน
วัยสูงอายุเสี่ยงเป็น “โรคอ้วน” ด้วยนะ
รู้หรือไม่? ซื้อยามารับประทานเองบ่อยๆ อาจเสี่ยงเป็นโรคไตได้
การรับประทานยาที่มีผลต่อการทำงานของระบบไตที่ทำให้ไตทำงานหนักติดต่อกันเป็นเวลานาน หรือการได้รับยาเกินขนาด อาจส่งผลให้การทำงานของไตมีความผิดปกติ ซึ่งอันตรายที่จะตามมาอาจทำให้หัวใจเต้นผิดปกติหรือหยุดเต้นได้
PANIC โรคแพนิค ใคร ๆ ก็เสี่ยงเป็นได้
โรคแพนิค (Panic Disorder) หรือโรคตื่นตระหนก เป็นโรควิตกกังวลอีกประเภทหนึ่งที่เกิดขึ้นจากระบบประสาทอัตโนมัติ (Automatic Nervous System) ทำงานผิดปกติ