logo
  • หน้าแรก
  • เลือกโรงพยาบาล
    เปาโลสมุทรปราการ เปาโลโชคชัย4 เปาโลรังสิต เปาโลเกษตร เปาโลพระประแดง
  • ชำระค่ารักษาพยาบาล
  • บริการ
    แพ็กเกจและโปรโมชั่น ปรึกษาแพทย์ออนไลน์ นัดหมายตรวจสุขภาพ ห้องพัก
  • บทความ
    บทความทางการแพทย์ จากใจผู้ใช้บริการ ข่าวสารและกิจกรรม
  • ติดต่อเปาโล
    เกี่ยวกับเปาโล ติดต่อเรา วิสัยทัศน์และพันธกิจ สาส์นจากผู้บริหารสูงสุด
  • สมาชิก
    Login ลงทะเบียน ลืมรหัสผ่าน
  • เลือกโรงพยาบาล
    • Paolo Chokchai4
    • Paolo Samutprakarn
    • Paolo Rangsit
    • Paolo Kaset
    • Paolo Phrapradeang
  • ค้นหาแพทย์
  • ศูนย์และคลินิก
  • แพ็กเกจและโปรโมชั่น
หน้าแรก บทความสุขภาพ
บทความสุขภาพ
โรคถุงลมโป่งพอง

โรคถุงลมโป่งพอง

โรคถุงลมโป่งพองเป็นหนึ่งในกลุ่มโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD)

รู้หรือไม่? วัคซีนไหนสำคัญ...ที่คุณแม่ตั้งครรภ์ควรได้รับ

รู้หรือไม่? วัคซีนไหนสำคัญ...ที่คุณแม่ตั้งครรภ์ควรได้รับ

การฉีดวัคซีนในช่วงตั้งครรภ์เป็นเรื่องสำคัญที่ช่วยป้องกันโรคและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทั้งคุณแม่และทารกในครรภ์ อีกทั้งการได้รับวัคซีนที่เหมาะสมช่วยให้คุณแม่และทารกมีสุขภาพที่ดีในช่วงตั้งครรภ์และหลังคลอด

ทำความเข้าใจเรื่อง ก้อนเนื้อที่เต้านม...กับการผ่าตัดรักษา

ทำความเข้าใจเรื่อง ก้อนเนื้อที่เต้านม...กับการผ่าตัดรักษา

ผู้หญิงกับการตรวจเต้านมด้วยตัวเอง น่าจะเป็นพฤติกรรมที่คุ้นเคยกันอยู่แล้ว แต่บ่อยครั้งเรากลับพบว่า… เมื่อคนไข้คลำเจอก้อนที่เต้านมกลับไม่ยอมมาพบแพทย์เพราะกลัวจะเป็นโรคร้าย

เจ็บแน่นหน้าอกใช่อาการ "โรคหัวใจ" หรือไม่?

เจ็บแน่นหน้าอกใช่อาการ "โรคหัวใจ" หรือไม่?

เคยเป็นไหม? เจ็บหน้าอกจี๊ดๆ เจ็บแปล๊บๆ รู้สึกแน่นหน้าอกบ่อยๆ กลัวจะเป็นโรคหัวใจ อย่าเพิ่งกังวลไป! รีบตรวจเช็กให้แน่ใจ ว่าอาการแบบไหนที่เป็นอาการของ “โรคหัวใจ” กันแน่!!

6 โรคติดต่อ...ที่ควรระวังเมื่อมีน้ำท่วมขัง

6 โรคติดต่อ...ที่ควรระวังเมื่อมีน้ำท่วมขัง

ในฤดูฝนมักเกิดแหล่งน้ำขังที่ทำให้เชื้อโรคเจริญเติบโตได้ดี การรู้เท่าทันสาเหตุของการเกิดโรคติดเชื้อต่างๆ จะทำให้เรารู้ว่าควรป้องกันตัวเองและคนในครอบครัวอย่างไร

โรคข้อเข่าเสื่อม โรคที่มาพร้อมกับวัยชรา

โรคข้อเข่าเสื่อม โรคที่มาพร้อมกับวัยชรา

โรคข้อเข่าเสื่อม โรคที่มาพร้อมกับวัยชรา

การผ่าตัดเส้นฟอกไต ทางเลือกสำคัญเมื่อไตเรื้อรัง

การผ่าตัดเส้นฟอกไต ทางเลือกสำคัญเมื่อไตเรื้อรัง

การผ่าตัดเส้นฟอกไต ทางเลือกสำคัญเมื่อไตเรื้อรัง

รับมืออย่างไร เมื่อลูกเป็นไข้หวัดใหญ่

รับมืออย่างไร เมื่อลูกเป็นไข้หวัดใหญ่

ไข้หวัดใหญ่เป็นโรคที่สามารถพบได้ตลอดปี แต่จะพบมากในช่วงฤดูฝนและฤดูหนาว สามารถเกิดได้กับทุกเพศทุกวัย

โรคไวรัส RSV ในเด็ก

โรคไวรัส RSV ในเด็ก

เมื่อเริ่มเข้าสู่ฤดูกาลหน้าฝน หรือหน้าหนาว ร่างกายจะต้องรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ซึ่งหนึ่งในโรคที่มีโอกาสติดเชื้อไวรัส

“เปิดเผยเคล็ดลับ จัดการประจำเดือนที่มาไม่สม่ำเสมอ”

“เปิดเผยเคล็ดลับ จัดการประจำเดือนที่มาไม่สม่ำเสมอ”

ประจำเดือนที่มาไม่สม่ำเสมอ มักมีสาเหตุมาจากความไม่สมดุลของฮอร์โมนในร่างกายของผู้หญิง ซึ่งจะประกอบไปด้วยฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนที่มีบทบาทสำคัญในการควบคุมรอบเดือนของคุณผู้หญิง ดังนั้นหากเกิดภาวะต่างๆ ที่ส่งผลต่อฮอร์โมนเพศหญิงก็จะทำให้รอบเดือนของคุณผู้หญิงมาๆ ขาดๆ ได้

LGBTQ ความหลากหลายที่ไม่แตกต่างในสังคม

LGBTQ ความหลากหลายที่ไม่แตกต่างในสังคม

LGBTQ คือ ความหลากหลายทางเพศ ถือเป็นความชอบที่หลากหลายเฉพาะบุคคล

7 วิธีรับมือกับอาการ “บ้านหมุน” ง่ายๆ ที่คุณอาจไม่เคยรู้

7 วิธีรับมือกับอาการ “บ้านหมุน” ง่ายๆ ที่คุณอาจไม่เคยรู้

อาการ "บ้านหมุน" อาจเป็นเพียงอาการเล็กๆ ที่เกิดขึ้นชั่วขณะ แต่ก็เป็นอาการที่เราไม่รู้ว่าจะเกิดขึ้นมาเมื่อไหร่ ดังนั้นการรู้ถึงวิธีรับมือกับอาการบ้านหมุน จึงสามารถช่วยไม่ให้อาการเหล่านี้รบกวนชีวิตประจำวันมากเกินไป

รู้ได้อย่างไร เมื่อไหร่? ควรทำแมมโมแกรม

รู้ได้อย่างไร เมื่อไหร่? ควรทำแมมโมแกรม

หากพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงของเต้านม เช่น การเกิดก้อนเนื้อที่สัมผัสได้จากการคลำเต้านม เกิดการเปลี่ยนแปลงของผิวหนังบริเวณหัวนมหรือลานนม มีของเหลวไหลออกจากหัวนม หรือความเจ็บปวดผิดปกติที่เกิดขึ้นบริเวณเต้านม เมื่อพบว่าตนเองมีอาการเหล่านี้ หรือเข้าข่ายสุ่มเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม ควรเข้ารับการตรวจแมมโมแกรมโดยเร็วที่สุด

ปอดอักเสบในเด็ก...ภัยซ่อนเร้นที่พ่อแม่ต้องรู้ก่อนพลาด

ปอดอักเสบในเด็ก...ภัยซ่อนเร้นที่พ่อแม่ต้องรู้ก่อนพลาด

ปอดอักเสบ (Pneumonia) คือการอักเสบของเนื้อเยื่อภายในปอด ซึ่งมักเกิดจากการติดเชื้อ ไม่ว่าจะเป็นไวรัส แบคทีเรีย หรือเชื้อรา อาการของโรคนี้สามารถแสดงออกมาได้ในรูปแบบต่างๆ ตั้งแต่ไอเล็กน้อย ไปจนถึงการหายใจลำบาก ซึ่งอาจเป็นสัญญาณที่บ่งบอกถึงอาการที่รุนแรงขึ้น

ทำศัลยกรรมหน้าอก จำเป็นต้อง “ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม” ไหม?

ทำศัลยกรรมหน้าอก จำเป็นต้อง “ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม” ไหม?

จริงอยู่ว่า “การศัลยกรรมหน้าอก” กับการเกิด “มะเร็งเต้านม” อาจจะไม่เกี่ยวข้องกัน

มะเร็งเต้านม รู้ทันก่อนสาย..ด้วยการตรวจดิจิตอลแมมโมแกรม

มะเร็งเต้านม รู้ทันก่อนสาย..ด้วยการตรวจดิจิตอลแมมโมแกรม

การตรวจเต้านมด้วยดิจิตอลแมมโมแกรม สามรถพบก้อนในเต้านมตั้งแต่ยังมีขนาดเล็ก หากประเมินแล้วว่ามีความเสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านม ก็สามารถตรวจเพิ่มเติมด้วยวิธีอื่นๆ จนแน่ใจได้ ซึ่งการพบมะเร็งเต้านมโรคระยะลุกลามและรีบทำการรักษาจะมีโอกาสหายขาดได้ค่อยข้างมาก

ตรวจเช็คมะเร็งเต้านมด้วย ดิจิตอลแมมโมแกรม

ตรวจเช็คมะเร็งเต้านมด้วย ดิจิตอลแมมโมแกรม

โรคที่ผู้หญิงมีอัตราการเป็นสูงอีกหนึ่งโรค คือ มะเร็งเต้านม ลักษณะเริ่มแรกจะไม่แสดงอาการให้ผู้ป่วยทราบ ทำให้หลายๆ คนไม่รู้ว่ากำลังเผชิญอยู่ การตรวจคัดกรองเป็นประจำในทุกๆ ปี ด้วยเครื่องดิจิตอลแมมโมแกรม จึงเป็นตัวเลือกที่ดี นอกจากจะพบในช่วงเริ่มต้นแล้ว ยังสามารถรักษาได้ง่ายกว่าในระยะที่ลุกลามแล้ว

ทำไมถึงควรตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม

ทำไมถึงควรตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม

มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่ทำให้ผู้หญิงไทยเสียชีวิตมากที่สุด แต่เราสามารถลดสถิตินี้ลงได้ ด้วยการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม “ดิจิตอลแมมโมแกรม” ซึ่งสามารถค้นหามะเร็งเต้านมในระยะแรกได้ดี ผลการรักษาจึงออกมาดีด้วย

มะเร็งเต้านม ตรวจเจอไว รักษาได้

มะเร็งเต้านม ตรวจเจอไว รักษาได้

โรคมะเร็งเต้านม สาเหตุการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเป็นอันดับ 1 ในผู้หญิง

สัญญาณเตือน มะเร็งเต้านม

สัญญาณเตือน มะเร็งเต้านม

ยังมีอีก 2 เต้า...ที่ต้อง...เฝ้าระวัง!! มะเร็งเต้านม ภัยเงียบของผู้หญิง

มะเร็งเต้านม ภัยร้ายอันดับ 1 ของผู้หญิง

มะเร็งเต้านม ภัยร้ายอันดับ 1 ของผู้หญิง

ยิ่งปล่อยไว้นานเท่าไร ก็ยิ่งอันตรายถึงชีวิตเท่านั้น

โพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ...ภัยเงียบที่แฝงตัวอยู่ในกระดูกสันหลัง

โพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ...ภัยเงียบที่แฝงตัวอยู่ในกระดูกสันหลัง

ภาวะโพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ (Spinal Stenosis) คือภาวะที่ช่องโพรงกระดูกสันหลังเกิดแคบลง จนกดเบียดรบกวนไขสันหลัง หลอดเลือด หรือเส้นประสาทต่างๆ ที่ผ่านในช่องทางนี้ถูกกดทับ มักเกิดขึ้นบ่อยในส่วนของหลังส่วนล่าง ส่งผลให้เกิดอาการปวดหลัง ปวดขา รู้สึกชาตามแขนขา หรือปวดร้าวลงขาข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้าง หากปล่อยไว้อาการเหล่านี้อาจรุนแรงขึ้นจนกระทบต่อการเคลื่อนไหว

ไม่กินเค็ม...ก็เสี่ยงเป็นโรคไตได้นะ

ไม่กินเค็ม...ก็เสี่ยงเป็นโรคไตได้นะ

โรคไต ไม่ได้เกิดจากการกินอาหารโซเดียมสูงที่มีรสเค็มเพียงอย่างเดียว เพราะโซเดียมยังแฝงอยู่ในอาหารอีกหลายประเภท และนอกจากอาหารแล้วยังมีพฤติกรรมการใช้ชีวิตอีกหลายอย่างที่เป็นปัจจัยให้ไตต้องทำงานหนักจนเกิดความเสื่อมเร็วกว่าที่ควร

ไม่เกี่ยวว่าอ้วนหรือผอม! แค่ไขมันในเลือดสูง...ก็เสี่ยงโรคหัวใจได้

ไม่เกี่ยวว่าอ้วนหรือผอม! แค่ไขมันในเลือดสูง...ก็เสี่ยงโรคหัวใจได้

ไขมันในเลือดสูง หนึ่งในสาเหตุของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ มักไม่มีอาการแสดงชัดเจน ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันได้โดยไม่ทันตั้งตัว

มะเร็งปอด ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม

มะเร็งปอด ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม

มะเร็งปอด อีกหนึ่งสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของประชากรไทย โดยส่วนมากผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดมักจะไม่ค่อยมีอาการแสดงออกในช่วงระยะแรก

นี่คือเหตุผลว่าทำไมถึงควรตรวจ “อัลตร้าซาวด์ช่องท้อง”

นี่คือเหตุผลว่าทำไมถึงควรตรวจ “อัลตร้าซาวด์ช่องท้อง”

การอัลตร้าซาวด์ช่องท้อง เป็นการตรวจด้วยเครื่องมือที่ใช้คลื่นเสียงความถี่สูงสะท้อนให้เกิดภาพอวัยวะต่างๆ ที่อยู่ภายใน จึงให้ทั้งความชัดเจนและความแม่นยำ มักใช้เพื่อการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวัง รวมถึงตรวจเพื่อประกอบการวินิจฉัยโรค

ตับ & ไต…ทำไม? ต้องดูแลให้ดี

ตับ & ไต…ทำไม? ต้องดูแลให้ดี

ตับมีหน้าที่หลักในการควบคุมสารอาหาร สังเคราะห์โปรตีน และผลิตสารชีวเคมีที่จำเป็นในกระบวนการย่อยอาหาร ส่วนไตจะมีหน้าหลักคือกรองของเสียโดยขับออกมาเป็นปัสสาวะ และช่วยให้ระบบต่างๆ ในร่างกายทำงานได้เป็นปกติ

ความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือดสูงลดได้ ด้วยการงด 4 พฤติกรรมนี้

ความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือดสูงลดได้ ด้วยการงด 4 พฤติกรรมนี้

ความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือดสูง ส่วนหนึ่งเกิดจากพฤติกรรมทำลายสุขภาพ เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การนอนดึก และการใช้ชีวิตที่เคร่งเครียด เราจึงควรหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเหล่านี้

คุณแม่ตั้งครรภ์ไม่สบาย ทานยาอะไรได้บ้าง

คุณแม่ตั้งครรภ์ไม่สบาย ทานยาอะไรได้บ้าง

ความเจ็บป่วยระหว่างการตั้งครรภ์ ไม่ใช่แค่สุขภาพของคุณแม่เท่านั้น แต่ยังส่งผลกระทบต่อเจ้าตัวเล็กในครรภ์ด้วย

20 ข้อควรปฏิบัติ...หลังผ่าตัดต้อกระจก

20 ข้อควรปฏิบัติ...หลังผ่าตัดต้อกระจก

ดูแลดวงตาหลังผ่าตัดต้อกระจกอย่างไรให้ไม่เสี่ยงติดเชื้อ หรือเกิดอักเสบ จนกระทบต่อดวงตา นี่คือ 20 ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยต้อกระจก ที่เราอยากแนะนำ

  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6
  • 7
  • 8
  • 9
  • 10
  • ถัดไป

สมัครรับข่าวสาร
อัพเดทจากเปาโล

บริการทางการแพทย์

  • ค้นหาแพทย์
  • ศูนย์บริการทางการแพทย์

บทความ

  • บทความทางการแพทย์
  • จากใจผู้ใช้บริการ
  • ข่าวสารและกิจกรรม

บริการ

  • ห้องพักและสิ่งอำนวยความสะดวก
  • บริการลูกค้าประกัน
  • แพ็กเกจและโปรโมชั่น

ติดต่อเปาโล

  • ติดต่อเรา
  • เกี่ยวกับเปาโล
  • Privacy Policy
  • Cookies Policy

โทรหาเราได้ที่ 02-271-7000 แฟกซ์ 0-2271-4454

  • ติดตามเปาโล

Copyright 2018. Paolo Hospital All rights reserved.