การออกกำลังกายอย่างถูกต้องและเหมาะสมจะช่วยให้ผู้ที่มีความเสี่ยงหรือผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมและลดความดันโลหิตลงได้ ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัย ควรปรึกษาแพทย์และได้รับการตรวจสุขภาพก่อนเสมอ
ผู้ที่มีความดันโลหิตสูง ระดับน้ำตาลในเลือดสูงและผู้ป่วยเบาหวาน จะมีอาหารที่ควรรับประทานและควรหลีกเลี่ยง การกินอาหารแบบแดชไดเอท (DASH Diet) นับเป็นหนึ่งในวิธีที่แพทย์แนะนำ เพราะสามารถช่วยลดความดันโลหิตและลดระดับน้ำตาลในเลือดได้
หากมีอาการถ่ายเหลววันละ 3 ครั้งขึ้นไป หรือถ่ายเป็นมูกเลือด มีคลื่นไส้ อาเจียน แน่นท้อง ปวดท้อง ท้องอืด มีไข้สูง ปวดเมื่อยตามเนื้อตัว นั่นอาจเป็นเพราะติดเชื้อไวรัสโรต้า ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของอาการท้องร่วง
ไวรัส RSV ก่อให้เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจทั้งส่วนบนและส่วนล่าง โรคหากติดในเด็กเล็กอาจทำให้เด็กมีอาการรุนแรงถึงขั้นทำให้ปอดบวมหรือหลอดลมอักเสบ และอาจเสียชีวิตได้หากระบบทางเดินหายใจล้มเหลว
เดี๋ยวนี้ต้องมีวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก 9 สายพันธุ์แล้วนะ
การฝากครรภ์จึงต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์ที่มีประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญจึงจะสามารถให้การดูแลคุณแม่และลูกน้อยในครรภ์ได้ในทุกสถานการณ์
ผู้ป่วยโรคเบาหวานควรได้รับการดูแลสุขภาพเท้า (Foot Care) รวมถึงการรักษาแผลเบาหวานเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงในการถูกตัดเท้าหรือตัดขาได้มาก
Inbody คือการตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบของร่างกาย หรือ Body Composition Analyzer เช่น ปริมาณกล้ามเนื้อ ไขมัน น้ำ เกลือแร่ และมวลกระดูก ที่สามารถใช้เป็นแนวทางในการวางแผนปรับปรุงสุขภาพและรูปร่างให้ดีขึ้น
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่จะป่วยโดยไม่ทราบสาเหตุและไม่มีอาการเตือนล่วงหน้า ทำให้มักพบโรคในระยะที่รุนแรงแล้ว การกินอาหารที่เหมาะสม ออกกำลังกายสม่ำเสมอ เลิกสูบบุหรี่และไม่ดื่มแอลกอฮอล์ จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคได้
ผู้ป่วยหรือผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ และโรคเบาหวาน ควรได้รับการตรวจหาคราบหินปูนหรือแคลเซียมที่ผนังหลอดเลือดแดงในหัวใจ เพื่อการคัดกรอง ป้องกัน หรือรีบรักษา
ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ มีอาการหายใจไม่อิ่ม หายใจลำบาก เหนื่อยง่าย เจ็บหน้าอก มีอาการหอบหืด รวมถึงผู้ติดเชื้อโควิด-19 และผู้ที่สูบบุหรี่จัดมานาน ควรได้รับการตรวจคัดกรองโรคปอดด้วยการเอกซเรย์ปอด (Chest x-ray : CXR)
ผู้ป่วยหรือผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบและโรคเบาหวาน ควรตรวจการไหลเวียนเลือดของหลอดเลือดแดงในสมองด้วยคลื่นความถี่สูง (TCD) เพราะจะทำให้เห็นถึงคุณภาพการไหลเวียน ความเร็ว ทิศทางและรูปแบบการไหลของเลือดว่ามีความผิดปกติอย่างไรบ้าง
ผู้ป่วยหรือผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมองหรือหลอดเลือดหัวใจ และโรคเบาหวาน ควรได้รับการตรวจวัดความแข็งตัวของหลอดเลือดแดง (ABI) เพื่อการประเมินโรคและวางแผนการป้องกันหรือรับการรักษา
การตรวจวิเคราะห์ขั้วประสาทตา OCT (Optical Coherence Tomography) คือการตรวจขั้วประสาทตา จอประสาทตาและจุดรับภาพ ด้วยการสร้างภาพตัดขวางจากเครื่องเลเซอร์ เพื่อการวินิจฉัยว่าอวัยวะต่างๆ ในลูกตามีปัญหาใดอยู่หรือไม่
ผู้ที่มีอาการเหนื่อยง่าย ใจสั่น หายใจลำบาก การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography หรือ EKG จะช่วยให้เห็นถึงอัตราการเต้นของหัวใจว่ามีความผิดปกติหรือไม่ ทั้งยังช่วยค้นหาภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ และกล้ามเนื้อหัวใจโตหรือหนาได้ด้วย
ผู้ที่มีน้ำหนักตัวเกิน อ้วน มีไขมันในเลือดสูงหรือเป็นโรคเบาหวาน จะมีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมองตีบได้มากกว่าคนทั่วไป การตรวจวัดการตีบตันของหลอดเลือดแดงที่คอ (CIMT) จะช่วยให้รู้ได้ว่าหลอดเลือดยังดีอยู่หรือไม่
BGM หรือ Blood Glucose Monitoring คือ การตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเองสำหรับผู้ป่วยเบาหวานโดยไม่ต้องไปโรงพยาบาล เพื่อติดตามผลการรักษา การคุมอาหาร การออกกำลังกาย และปรับการใช้ยาให้เหมาะสม
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ยอดฮิต
ให้ปล่อยให้หัวใจของคุณเสี่ยงจนเกินไป
การฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัส HPV หรือมะเร็งปากมดลูกตั้งแต่ยังไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ และอยู่ในช่วงวัยที่ร่างกายสามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้ดีที่สุด คือในเด็กอายุตั้งแต่ 9-14 ปี ก็จะได้รับประโยชน์มากยิ่งขึ้น
ท้องร่วง เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี และมีแนวโน้มพบผู้ป่วยด้วยโรคท้องร่วงมากขึ้นทุกปี โดยพบว่าเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี
คุณแม่ตั้งครรภ์ทุกคนควรได้รับการตรวจคัดกรองดาวน์ซินโดรมของทารกในครรภ์ โดยสามารถตรวจได้ทั้งจากการตรวจเลือดและจากการตรวจน้ำคร่ำตามความเหมาะสม
อาการปวดหลัง เป็นอาการที่พบได้บ่อยในคนทุกเพศทุกวัย
ออฟฟิศซินโดรม เป็นกลุ่มอาการที่พบบ่อยในคนวัยทำงาน ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการนั่งทำงานตลอดเวลาโดยไม่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย
ตรวจลำไส้ใหญ่อย่างเจาะลึกด้วย CT Colono
การกินผักผลไม้จะช่วยทำความสะอาดลำไส้ ลดการดูดซึมไขมัน ช่วยปรับสมดุลเอนไซม์และฮอร์โมน แถมยังเพิ่มภูมิคุ้มกันให้แข็งแรงขึ้น จึงมีช่วยลดความเสี่ยงต่อโรคเรื้อรังและลดความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งบางชนิดได้
นอกจากจะต้องเผชิญกับอากาศที่ร้อนจัดในช่วงหน้าร้อนแล้ว เรายังต้องเจอกับโรคที่มักมาพร้อมกับแดดที่ร้อน ๆ อีกด้วย ซึ่งอย่างที่เราทราบกันอยู่แล้วว่า แดดร้อน ๆ เหมาะกับการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียบางชนิดมาก
ปัจจุบันค่ามลภาวะทางอากาศของประเทศสูงติดอันดับต้น ๆ ของโลก
โรคมะเร็งตับ เป็นมะเร็งที่พบได้มากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของโรคมะเร็งที่เกิดในผู้ชายไทย
การตั้งครรภ์ เป็นช่วงเวลาที่มีคุณค่าสำหรับผู้หญิง เพราะการเริ่มมีอีกหนึ่งชีวิตในร่างกายของเราถือเป็นความมหัศจรรย์ ที่คุณแม่มือใหม่จะได้เรียนรู้พัฒนาการของทารกในครรภ์ ในแต่ละเดือน