สามารถเข้ารับบริการได้ ตั้งแต่วันนี้ - 31 ธันวาคม 2568
สามารถเข้ารับบริการได้ ตั้งแต่วันนี้ - 31 ธันวาคม 2568
สามารถเข้ารับบริการได้ตั้งแต่วันนี้ - 31 ธันวาคม 2568
โปรโมชั่นผ่าตัดด้านศัลยกรรม กระดูกและข้อ ผ่อนบัตรเครดิต 0% สูงสุด 12 เดือน
รักษาทุกอาการ "ปวด" จากเอ็นฉีกขาด กล้ามเนื้ออักเสบ
กระดูกคอเสื่อม (Cervical Spondylosis) เป็นความเสื่อมของกระดูกอ่อนและหมอนรองกระดูกบริเวณคอซึ่งมักเกิดจากการใช้งานที่ยาวนานหรือความเสื่อมตามวัย แม้จะพบได้มากในผู้สูงอายุ แต่ไลฟ์สไตล์ปัจจุบัน เช่น การนั่งทำงานหน้าคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน หรือการใช้อุปกรณ์สื่อสารที่ต้องก้มหน้าบ่อยๆ ทำให้โรคนี้มีแนวโน้มพบในคนอายุน้อยมากขึ้น
กระดูกที่ไม่ได้รับการดูแลอย่างดีเท่าที่ควรก็ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อ “โรคกระดูกพรุน” ได้ง่าย ซึ่งการป้องกันหลักๆ ที่เราเคย
การตรวจวัดความหนาแน่นมวลกระดูก (Bone Mineral Density, BMD) เป็นการตรวจเพื่อประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรคกระดูกพรุน สามาร
ภาวะโพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ (Spinal Stenosis) คือภาวะที่ช่องโพรงกระดูกสันหลังเกิดแคบลง จนกดเบียดรบกวนไขสันหลัง หลอดเลือด หรือเส้นประสาทต่างๆ ที่ผ่านในช่องทางนี้ถูกกดทับ มักเกิดขึ้นบ่อยในส่วนของหลังส่วนล่าง ส่งผลให้เกิดอาการปวดหลัง ปวดขา รู้สึกชาตามแขนขา หรือปวดร้าวลงขาข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้าง หากปล่อยไว้อาการเหล่านี้อาจรุนแรงขึ้นจนกระทบต่อการเคลื่อนไหว
เช็กความผิดปกติของกระดูกสันหลังด้วยการทำ-MRI
ในวัยเด็กถึงอายุ 30 ปี กระดูกจะมีความหนาแน่นสูงขึ้นเนื่องจากอัตราการสร้างกระดูกเร็วกว่าอัตราการสลายกระดูก หลังอายุ 30 ป
ภาวะกระดูกพรุน (Osteoporosis) เป็นภาวะที่ความหนาแน่นของมวลกระดูกลดน้อยลงจนทำให้กระดูกมีความเปราะบางส่งผลให้มีความเสี่ยงต่อการแตกหักได้ง่าย โดยปกติกระดูกจะประกอบไปด้วยเซลล์สร้างกระดูก (Osteoblast) ที่ทำหน้าที่สร้างเซลล์กระดูกขึ้นมาใหม่ตามกระบวกการเติบโตของร่างกาย และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอจากแคลเซียมและโปรตีน และเซลล์สลายกระดูก (Osteoclast) ที่ทำหน้าที่สร้างสลายเนื้อกระดูกเก่า หากเกิดการสลายตัวของกระดูกเร็วกว่าการสร้างกระดูกก็จะทำให้เกิด “ภาวะกระดูกพรุน”
ภาวะกระดูกพรุน เป็นโรคที่ไม่แสดงอาการ และไร้สัญญาณเตือนใดๆ ทำให้ไม่สามารถทราบได้ว่าเป็นจนกระทั่งกระดูกหัก ในกรณีร้ายแรงอ
อาการปวดหลัง ร้าวลงขา เป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่ส่งผลต่อสุขภาพร่างกาย ถือเป็นอาการที่ไม่ควรละเลยหรือปล่อยทิ้งไว้ เพราะนั่นอาจ
การผ่าตัดกระดูกสันหลังผ่านกล้อง Endoscope เป็นการผ่าตัดด้วยวิธีการส่องกล้อง ซึ่งเป็นการใช้เทคโนโลยี และเทคนิคในการผ่าตัดที่เฉพาะทาง โดยจุดประสงค์เพื่อช่วยลดการบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อโดยเฉพาะกล้ามเนื้อให้น้อยที่สุด ทำให้ผลของการผ่าตัดกระดูกสันหลังผ่านกล้อง มีแผลที่เล็กกว่าการผ่าตัดแบบเปิด ส่งผลให้มีอาการเจ็บน้อยกว่า และลดความเสียหายต่อร่างกายทำให้ร่างกายฟื้นฟูได้ไว
อาการปวดหลังมักเป็นอาการที่พบได้บ่อยๆ ในทุกเพศทุกวัย ในเด็กหรือวัยรุ่นที่เล่นกีฬาอย่างหนัก เช่น นักกีฬายกน้ำหนัก...
กระดูกไหปลาร้า เป็นตำแหน่งที่พบกระดูกหักได้บ่อย แต่มักจะไม่ทำให้เกิดอันตรายร้ายแรง และไม่ค่อยพบภาวะแทรกซ้อน ยกเว้น ในกรณีที่หายแล้ว จะมีกระดูกติดซ้อนกันทำให้กระดูกนูนขึ้น
รับประทานอาหารหรือแคลเซียมและวิตามินเสริม ออกกำลังกาย ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเสื่อม และโรคกระดูกพรุนในอนาคต
หากคุณมีอาการปวดหลังเรื้อรังที่เกิดจากหมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อมหรือหมอนรองกระดูกสันหลังเสื่อม และคุณอาจกำลังมองหาทางเลื
หน้าที่สำคัญของแคลเซียม คือการเสริมสร้างกระดูกและช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ แต่จะกินอย่างไรให้เหมาะสมและเป็นผลดีต่อร่างกายเพื่อไม่ให้เกิดโรคกระดูกพรุนในอนาคต
ปัจจุบัน เทคโนโลยีการผ่าตัดกระดูกสันหลังได้มีการพัฒนาขึ้นมาก เป็นการเพิ่มคุณภาพการรักษา ทั้งขนาดแผล ความเจ็บ ความปลอดภัย และระยะเวลาในการพักฟื้น
โรคกระดูกและข้อ เป็นโรคที่เกิดจากความผิดปกติของระบบกระดูกและไขข้อ พบมากในกลุ่มคนที่มีน้ำหนักตัวมาก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มนักกีฬาหรือผู้ที่ได้รับการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา
ภาวะกระดูกหัก คือ ภาวะที่เกิดจากอุบัติเหตุหรือเกิดจากภาวะอื่น ๆ แต่ส่วนใหญ่จะเจอน้อยกว่าอุบัติเหตุ ส่งผลทำให้กระดูกมีการหักหรือเคลื่อน ซึ่งจะสามารถเกิดได้จากหลายสาเหตุจนทำให้เกิดอาการปวด บวม หรือมีเลือดออกตรงบริเวณที่หักตามมา
ปัจจุบันโรคกระดูกพรุน กลายเป็นปัญหาสุขภาพใหญ่อีกหนึ่งโรคที่นับวันจะยิ่งมีเพิ่มมากขึ้นจากจำนวนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น จึงนับเป็น ภัยเงียบที่ซ่อนอยู่ เนื่องจากผู้ป่วยจะไม่รู้ตัวเองเลยว่าตัวเองกำลังมี ภาวะกระดูกพรุนอยู่ เนื่องจากโรคกระดูกพรุนเป็นโรคที่ไม่มีอาการแสดงออกมาเลย จะรู้ตัวอีกทีคือตอนที่ตนเองมีการหกล้มแล้วกระดูกหัก ถึงจะรู้ว่าเป็นโรคกระดูกพรุน
การรักษาด้วยวิธีเวอร์ติโบรว์พลาสตี้ (Vertebroplasty) หลังทำการรักษา ผู้ป่วยจะนอนพักฟื้นรักษาตัวในโรงพยาบาลเพียง 1 คืนเท่านั้น ซึ่งระหว่างที่นอนพักรักษาตัวผู้ป่วยสามารถลุกเดินและเคลื่อนไหวได้ทันที
การผ่าตัดแบบใช้กล้องดีกว่าไม่ใช้กล้อง หรือไม่?
หากตรวจพบว่ามีความผิดปกติของหมอนรองกระดูก จากอาการปวดหลังเรื้อรังหรืออาการปวดร้าวลงขา สิ่งสำคัญที่ไม่ควรละเลยก็คือการเข้
กระดูกพรุน ภัยเงียบที่ไม่ควรมองข้าม
เมื่ออายุมากขึ้น หมอนรองกระดูกก็เริ่มเสื่อมสภาพ ทำให้ตัวเตี้ยลง ซึ่งหมอนรองกระดูกอาจไหลไปกดทับเส้นประสาท ทำให้เป็นหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทได้
ลดอาการบาดเจ็บของกระดูกและกล้ามเนื้อ ช่วยฟื้นฟู