การวินิจฉัยโรคหัวใจต้องอาศัยการซักประวัติ พิจารณาจากอาการ เพื่อเลือกวิธีตรวจที่เหมาะสม เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (ECHO) การตรวจสมรรถภาพของหัวใจขณะออกกำลังกาย (EST) หรือการเอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) เป็นต้น
เคยเป็นไหม? เจ็บหน้าอกจี๊ดๆ เจ็บแปล๊บๆ รู้สึกแน่นหน้าอกบ่อยๆ กลัวจะเป็นโรคหัวใจ อย่าเพิ่งกังวลไป! รีบตรวจเช็กให้แน่ใจ ว่าอาการแบบไหนที่เป็นอาการของ “โรคหัวใจ” กันแน่!!
ไขมันในเลือดสูง หนึ่งในสาเหตุของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ มักไม่มีอาการแสดงชัดเจน ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจวายเฉียบพลันได้โดยไม่ทันตั้งตัว
ความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือดสูง ส่วนหนึ่งเกิดจากพฤติกรรมทำลายสุขภาพ เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การนอนดึก และการใช้ชีวิตที่เคร่งเครียด เราจึงควรหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเหล่านี้
รู้ไหมว่า? “ในแต่ละปีมีคนไทยเสียชีวิตจากโรคหัวใจมากถึง 50,000 คน หรือ เฉลี่ยเท่ากับ 6 คนเสียในทุกๆ 1 ชั่วโมง” เลยทีเดียว
ผู้ที่มีอาการหอบ เหนื่อย หายใจลำบาก ซึ่งสงสัยว่าอาจเกิดจากโรคหัวใจ และผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echo) จะช่วยให้เห็นความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทั้งรูปร่าง ขนาด และการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจและลิ้นหัวใจ
ผู้ที่มีอาการหอบ เหนื่อยง่าย หายใจลำบาก ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง จะมีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบและโรคทางหัวใจอื่นๆ การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย (EST) จะช่วยให้เห็นถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้นได้
เหนื่อยง่าย แน่นหน้าอก อาการแบบนี้ควรตรวจสุขภาพหัวใจ เช่น การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง และการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะออกกำลังกาย
ผู้ที่มีความดันโลหิตสูง ระดับน้ำตาลในเลือดสูงและผู้ป่วยเบาหวาน จะมีอาหารที่ควรรับประทานและควรหลีกเลี่ยง การกินอาหารแบบแดชไดเอท (DASH Diet) นับเป็นหนึ่งในวิธีที่แพทย์แนะนำ เพราะสามารถช่วยลดความดันโลหิตและลดระดับน้ำตาลในเลือดได้
ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่จะป่วยโดยไม่ทราบสาเหตุและไม่มีอาการเตือนล่วงหน้า ทำให้มักพบโรคในระยะที่รุนแรงแล้ว การกินอาหารที่เหมาะสม ออกกำลังกายสม่ำเสมอ เลิกสูบบุหรี่และไม่ดื่มแอลกอฮอล์ จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคได้
ผู้ป่วยหรือผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ และโรคเบาหวาน ควรได้รับการตรวจหาคราบหินปูนหรือแคลเซียมที่ผนังหลอดเลือดแดงในหัวใจ เพื่อการคัดกรอง ป้องกัน หรือรีบรักษา
ผู้ป่วยหรือผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมองหรือหลอดเลือดหัวใจ และโรคเบาหวาน ควรได้รับการตรวจวัดความแข็งตัวของหลอดเลือดแดง (ABI) เพื่อการประเมินโรคและวางแผนการป้องกันหรือรับการรักษา
ผู้ที่มีอาการเหนื่อยง่าย ใจสั่น หายใจลำบาก การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography หรือ EKG จะช่วยให้เห็นถึงอัตราการเต้นของหัวใจว่ามีความผิดปกติหรือไม่ ทั้งยังช่วยค้นหาภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ และกล้ามเนื้อหัวใจโตหรือหนาได้ด้วย
ผู้ที่มีน้ำหนักตัวเกิน อ้วน มีไขมันในเลือดสูงหรือเป็นโรคเบาหวาน จะมีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมองตีบได้มากกว่าคนทั่วไป การตรวจวัดการตีบตันของหลอดเลือดแดงที่คอ (CIMT) จะช่วยให้รู้ได้ว่าหลอดเลือดยังดีอยู่หรือไม่
โรคเรื้อรังอย่างเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หรือไขมันในเลือดสูง ที่เป็นโรคยอดฮิตของผู้สูงวัย หลายคนคิดว่าโรคเหล่านี้ไม่ใช่โรคร้ายแรงอะไร เลยไม่ต้องระวังอะไรมาก เราขอบอกว่าไม่จริง!
การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย หรือ Exercise stress test (EST) เหมาะสำหรับการวินิจฉัยภาวะหัวใจขาดเลือด หรือโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โดยผู้เข้ารับการตรวจจะออกกำลังกายด้วยการเดินบนสายพาน หรือปั่นจักรยาน เพื่อวัดค่าการตอบสนองของคลื่นนำไฟฟ้าหัวใจ
ปฏิเสธไม่ได้ว่าพฤติกรรมการใช้ชีวิตส่งผลต่อสุขภาพโดยตรง ทั้งในเรื่องของการทำงาน ความเครียด การออกกำลังกาย หรือเรื่องของการกิน โดยเฉพาะ “โรคหัวใจ” ที่เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของคนไทย
โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ หนึ่งในโรคหัวใจที่คนไทยเป็นกันมากและยังคงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทั้งที่จริงๆ แล้วโรคนี้สามารถป้องกันได้ แค่รู้จักปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิต
การนอนกรนไม่ใช่เรื่องน่าอายและไม่ใช่เรื่องที่ควรปล่อยทิ้งไว้จนเรื้อรังนานๆ เพราะอาจเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหยุดหายใจขณะหลับ... และนำไปสู่โรคหลอดเลือดหัวใจในอนาคตได้
ช็อค หมดสติ จนเสียชีวิตขณะวิ่งมาราธอน เหตุการณ์แบบนี้เกิดจากสาเหตุอะไร ทำไมคนที่ดูสุขภาพแข็งแรงดีถึงหัวใจวายเฉียบพลันได้ เรามาหาคำตอบกัน!