-
วินิจฉัยความเสี่ยงของหัวใจให้ปลอดภัย...ด้วยการตรวจ EST
อาการเจ็บหน้าอกที่มักเกิดขึ้นตอนที่ร่างกายกำลังได้ใช้กำลัง อาจบ่งบอกถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้นจาก “โรคหัวใจ” ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มโรคที่มักไม่แสดงอาการชัดเจน ดังนั้นจึงมีการตรวจคัดกรองโรคหัวใจที่เป็นการตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย หรือที่รู้จักกันในชื่อ EST
การตรวจ Echo หัวใจคืออะไร...ทำไมต้องตรวจ?
การตรวจ Echo หัวใจสามารถตรวจประเมินประสิทธิภาพของหัวใจ เช่น รูปร่างหรือขนาดของห้องหัวใจ การบีบและคลายตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ การทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจและลิ้นหัวใจ การไหลเวียนเลือดในหัวใจ รวมถึงตำแหน่งของหลอดเลือดที่เข้าและออกจากหัวใจว่ามีความผิดปกติหรือไม่
ตรวจภายใน...ไม่ได้น่ากลัวอย่างที่หลายคนคิด
การตรวจภายใน (Pelvic Exam) เป็นการตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะเพศภายในของผู้หญิง ซึ่งการตรวจภายในจะตรวจทั้งช่องคลอด ปากมดลูก มดลูก รังไข่ กระเพาะปัสสาวะ และลำไส้ใหญ่ด้านล่าง เพื่อตรวจหาความผิดปกติหรือรอยโรคที่เราไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
MIS นวัตกรรมการผ่าตัดผ่านกล้อง
สัญญาณเตือน มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม (Breast Cancer) เป็นโรคมะเร็งที่เกิดขึ้นจากการเติบโตผิดปกติของเซลล์ในเนื้อเยื่อเต้านม ซึ่งสามารถแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นของร่างกายได้ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่สำคัญอันดับ 1 ของผู้หญิงไทย และจะมีความเสี่ยงต่อโรคเมื่ออายุมากขึ้น
โรคท้องผูก...ไม่ใช่แค่เพียงปัญหาด้านการถ่าย
โรคท้องผูก (Constipation) คือ โรคที่เกี่ยวกับการขับถ่าย เนื่องมาจากการที่ลำไส้มีการบีบตัวหรือเคลื่อนตัวช้าในระหว่างการย่อยอาหาร ทำให้ร่างกายไม่สามารถขับถ่ายอุจจาระออกจากระบบทางเดินอาหารได้ตามปกติ
ฝุ่น PM2.5 มลพิษร้ายทำลายปอด
ฝุ่น PM2.5 สามารถผ่านการกรองของขนจมูกและเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจไปจนถึงชั้นในสุดของปอดได้ ซึ่งหากมีการสะสมในร่างกายมากๆ อาจทำให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ โรคหลอดเลือดและหัวใจเรื้อรัง โรคปอดเรื้อรัง ไปจนถึงมะเร็งปอดได้
โรคปอดอักเสบ อันตรายที่ไม่ควรมองข้าม
โรคปอดอักเสบคืออาการอักเสบของเนื้อปอดที่มักเกิดจากการติดเชื้อ ซึ่งสามารถเกิดจากแบคทีเรีย, ไวรัส, หรือเชื้อราได้ อาการหลักๆ ของโรคปอดอักเสบ ได้แก่ ไข้สูง, ไอ, เจ็บหน้าอกเมื่อหายใจหรือไอ, และหายใจลำบาก
รู้ไว้...วัคซีนที่ผู้สูงอายุควรได้รับ
สิ่งที่มาพร้อมกับอายุที่เพิ่มขึ้นไม่ได้มีเพียงตัวเลข แต่รวมไปถึงสุขภาพที่มีความเสื่อมถอยลง โดยเฉพาะกับระบบภูมิคุ้มกันต่อโรคต่างๆ ที่เป็นสิ่งที่เราไม่สามารถวัดได้ด้วยสายตาเปล่าๆ เนื่องจากภูมิคุ้มกันมีหน้าที่ในการปกป้องร่างกายจากอันตรายจากเชื้อโรคต่างๆ
เอกซเรย์ คืออะไร? ทำไมต้องตรวจ
เอกซเรย์ (X-ray) เป็นการตรวจร่างกายโดยการฉายรังสีเอกซ์ไปยังอวัยวะที่ต้องการตรวจ เพื่อดูความผิดปกติของโครงสร้างต่างๆ เช่น กระดูก หรืออวัยวะภายในร่างกาย
ท้องผูกมีเลือดปน หนีไม่พ้นริดสีดวง
ก่อนออกเดินทาง...ควรตรวจอะไรให้ไร้กังวล
การตรวจสุขภาพก่อนออกเดินทางก็จะคล้ายกับการตรวจร่างกายทั่วไป เช่น วัดความดัน วัดสายตา ตรวจเลือดตรวจปัสสาวะ ตรวจอุจจาระ เอกซเรย์ปอด และทำการตรวจคัดกรองโรคต่างๆ ตามที่ประเทศปลายทางระบุ เช่น โรคปอด วัณโรคปอด ไวรัสตับอักเสบบี โรคเรื้อน โรคซิฟิลิส หรือ HIV เป็นต้น และนอกจากการตรวจสุขภาพแล้ว การได้รับวัคซีนก็สำคัญเช่นกัน ในการเดินทางไปอย่างมั่นใจ และราบรื่น
“Heatstroke” โรคอันตรายในหน้าร้อน
Heatstroke หรือ “โรคลมแดด” เป็นภาวะที่ร่างกายมีความร้อนสูงโดยไม่สามารถระบายออกได้ พบบ่อยในช่วงหน้าร้อน มักเป็นในขณะที่มีการใช้แรงหรือออกกำลังกายอย่างหนักในสภาพแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูง
รู้หรือไม่? ซื้อยามารับประทานเองบ่อยๆ อาจเสี่ยงเป็นโรคไตได้
การรับประทานยาที่มีผลต่อการทำงานของระบบไตที่ทำให้ไตทำงานหนักติดต่อกันเป็นเวลานาน หรือการได้รับยาเกินขนาด อาจส่งผลให้การทำงานของไตมีความผิดปกติ ซึ่งอันตรายที่จะตามมาอาจทำให้หัวใจเต้นผิดปกติหรือหยุดเต้นได้
โรคท้องร่วงและอาหารเป็นพิษในเด็ก
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ...ความไม่สมดุลของร่างกายที่เกิดจากพฤติกรรม
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia) คือ ภาวะที่ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 50 มก./ดล. (ในผู้ป่วยโรคเบาหวานอาจพบน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า 70 มก./ดล.) โดยอาจเกิดขึ้นได้อย่างกระทันหัน ส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักรู้สึกตัวเมื่อมีอาการและสามารถรักษาระดับอาการได้ด้วยตัวเอง หากผู้ป่วยเริ่มมีอาการและปล่อยไว้ไม่รักษาภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำอาจทำให้เกิดอาการชัก หมดสติ ไม่รู้สึกตัว สมองพิการ หรือเสียชีวิตได้
คุณแม่มือใหม่ควรรู้...วิธีดูแลลูกน้อยตลอดการตั้งครรภ์
ในระหว่างการตั้งครรภ์สิ่งที่คุณแม่คำนึกถึงเป็นลำดับแรกๆ คือ สุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตที่ดี เพื่อให้ทารกที่อยู่ในครรภ์ปลอดภัยและแข็งแรงที่สุดเมื่อถึงเวลาลืมตาดูโลก ดังนั้นการทราบถึงความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในระหว่างการตั้งครรภ์ และการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง จะทำให้เราสามารถรับมือกับมันได้อย่างดีและปลอดภัยทั้งแม่และลูกน้อยตลอดการตั้งครรภ์
“ติ่งเนื้อ” จุดเริ่มต้นของการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่
ติ่งเนื้อที่เกิดขึ้นภายในลำไส้ใหญ่ เกิดจากการเจริญเติบโตของก้อนเนื้อที่เกิดขึ้นบริเวณผิวหนังลำไส้ใหญ่ โดยก้อนเนื้อจะถูกกระตุ้นด้วยสารพิษที่อยู่ในอาหารโดยเฉพาะอาหารมัน ซึ่งมักจะเป็นผลมาจากอาหารที่รับประทานเข้าไปเป็นเวลานานหลายปี
ทำไมเราถึงต้องตรวจสุขภาพทุกปี
การผ่าตัดกระดูกสันหลังผ่านกล้อง แผลเล็ก เจ็บน้อย ฟื้นฟูไว
การผ่าตัดกระดูกสันหลังผ่านกล้อง Endoscope เป็นการผ่าตัดด้วยวิธีการส่องกล้อง ซึ่งเป็นการใช้เทคโนโลยี และเทคนิคในการผ่าตัดที่เฉพาะทาง โดยจุดประสงค์เพื่อช่วยลดการบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อโดยเฉพาะกล้ามเนื้อให้น้อยที่สุด ทำให้ผลของการผ่าตัดกระดูกสันหลังผ่านกล้อง มีแผลที่เล็กกว่าการผ่าตัดแบบเปิด ส่งผลให้มีอาการเจ็บน้อยกว่า และลดความเสียหายต่อร่างกายทำให้ร่างกายฟื้นฟูได้ไว
ป้องกันมะเร็งปากมดลูกด้วย...วัคซีนป้องกัน HPV
โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke)
คุณมี (วิตามิน) ดี...พอหรือยัง?
หากร่างกายมีภาวะขาดวิตามินดี หรือมีวิตามินดีไม่เพียงพอต่อร่างกาย จะทำให้ร่างเกิดการดูดซึมแคลเซียมได้น้อยลง ทำให้มวลกระดูกลดลง เสี่ยงต่อการแตกหักง่าย และยิ่งเราปล่อยให้ร่างกายขาดวิตามินดีนานเข้าอาจก่อให้เกิดโรคร้ายที่อาจตามมาได้
โรค NCDs...ภัยเงียบที่เกิดจากพฤติกรรมของเรา
NCDs หมายถึง "โรคเรื้อรัง" ซึ่งเป็นกลุ่มของโรคที่ไม่สามารถแพร่กระจายหรือส่งต่อกันได้ โดยมักจะเกิดจากตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม สภาพแวดล้อม และปัจจัยที่ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการเป็นโรค ซึ่งตัวอย่างของโรค NCDs ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และโรคเมตาโบลิก เป็นต้น
ไขข้อสงสัย! เป็นมะเร็งเต้านมจำเป็นต้องตัดเต้านมหรือไม่?
การรักษามะเร็งเต้านมในปัจจุบันมีทางเลือกในการรักษาด้วยกันหลายวิธี แม้จะบอกได้ว่าไม่จำเป็นต้องตัดเต้านมออกทั้งหมด แต่การรักษาโรคมะเร็งเต้านมก็ต้องมีการตัดชิ้นเนื้อร้ายนั้นๆ ออก ร่วมกับการรักษาด้วยวิธีอื่นๆ ประสิทธิภาพการรักษาจึงจะได้ผลดีที่สุด
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หากรู้เท่าทัน ป้องกันได้!
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ไม่ใช่เรื่องไกลตัว เพราะใครๆ ก็สามารถติดโรคทางเพศสัมพันธ์ได้ เนื่องจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ส่วนใหญ่มักจะไม่มีอาการแสดง แต่จะอาศัยอยู่ในร่างกายจนพัฒนาไปในขั้นที่รุนแรง ถึงจะมีอาการแสดงออกมา
ภาวะหนังตาตก...หากปล่อยไว้อาจสูญเสียการมองเห็น!
ภาวะหนังตาตก (Ptosis) เป็นภาวะที่หนังตาหรือเปลือกตาบนมีความหย่อนหรือยืดตัวมากเกินไป ทำให้หนังตาบนตกลงมาต่ำกว่าปกติ ส่งผลให้เกิดปัญหาด้านการมองเห็น โดยอาจมีอาการเพียงข้างเดียวหรือเกิดขึ้นทั้งสองข้างก็ได้ ซึ่งในบางรายอาจเป็นตั้งแต่กำเนิด แต่บางรายอาจเป็นเมื่ออายุมากขึ้นหรืออาจเป็นผลจากโรคอื่นๆ
อาการปวดท้องน้อยในผู้หญิง...อาจเสี่ยงเป็นโรคทางนรีเวช
อาการปวดท้องน้อยในผู้หญิง ไม่เพียงแต่เป็นสัญญาณเตือนจากการเป็นประจำเดือนเพียงเท่านั้น แต่อาจเป็นสัญญาณเตือนของโรคทางนรีเวช ที่มักเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของผู้หญิงอย่างโรคมะเร็งปากมดลูกได้
เช็คด่วน...สัญญาณเตือนไหนเสี่ยง “โรคไต”
โรคไต มักเกิดจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตของเราเป็นส่วนใหญ่และมักเกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว อีกทั้งโรคนี้เมื่อมีอาการแสดงออกมา นั่นอาจแสดงถึงไตที่ถูกทำลายไปมากแล้ว
6 ความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับประจำเดือน
จริงหรือไม่ที่ในช่วงมีประจำเดือนไม่ควรดื่มน้ำเย็น ดื่มน้ำมะพร้าว หรือออกกำลังกาย รวมถึงห้ามมีเพศสัมพันธ์ และเราจะมีวิธีช่วยลดอาการปวดประจำเดือนได้อย่างไรบ้าง