logo
  • หน้าแรก
  • เลือกโรงพยาบาล
    เปาโลพหลโยธิน เปาโลสมุทรปราการ เปาโลโชคชัย4 เปาโลรังสิต เปาโลเกษตร เปาโลพระประแดง
  • ชำระค่ารักษาพยาบาล
  • บริการ
    แพ็กเกจและโปรโมชั่น ปรึกษาแพทย์ออนไลน์ นัดหมายตรวจสุขภาพ ห้องพัก
  • บทความ
    บทความทางการแพทย์ จากใจผู้ใช้บริการ ข่าวสารและกิจกรรม
  • ติดต่อเปาโล
    เกี่ยวกับเปาโล ติดต่อเรา วิสัยทัศน์และพันธกิจ สาส์นจากผู้บริหารสูงสุด
  • สมาชิก
    Login ลงทะเบียน ลืมรหัสผ่าน
  • เลือกโรงพยาบาล
    • Paolo Phaholyothin
    • Paolo Chokchai4
    • Paolo Samutprakarn
    • Paolo Rangsit
    • Paolo Kaset
    • Paolo Phrapradeang
  • ค้นหาแพทย์
  • ศูนย์และคลินิก
  • แพ็กเกจและโปรโมชั่น
หน้าแรก บทความสุขภาพ
บทความสุขภาพ
คลำพบก้อน รู้ได้ยังไง...ว่าใช่ "มะเร็งเต้านม"

คลำพบก้อน รู้ได้ยังไง...ว่าใช่ "มะเร็งเต้านม"

เพราะคลำพบก้อน..อาจใช่หรือไม่ใช่มะเร็ง! การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมจึงสำคัญ

มะเร็งปากมดลูก หมั่นตรวจภายใน ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

มะเร็งปากมดลูก หมั่นตรวจภายใน ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

มะเร็งปากมดลูก หากเรามีโอกาสที่จะป้องกันหรือลดความเสี่ยงได้จึงควรทำ โดยเฉพาะการรับวัคซีน HPV และการตรวจภายในเป็นประจำก็จะช่วยลดความเสี่ยงการเป็นมะเร็งปากมดลูกได้

ประจำเดือนเตือนโรคได้

ประจำเดือนเตือนโรคได้

ปวดประจำเดือนเป็นอาการที่พบในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ส่วนใหญ่เมื่อปวดท้องประจำเดือนก็มักจะกินยาแก้ปวด ใช้กระเป๋าน้ำร้อน แผ่นร้อนเพื่อบรรเทาอาการให้ดีขึ้น

ไขข้อข้องใจ... ค่าต่างๆ ในผลตรวจสุขภาพ บอกอะไรได้บ้าง (PART 2)

ไขข้อข้องใจ... ค่าต่างๆ ในผลตรวจสุขภาพ บอกอะไรได้บ้าง (PART 2)

อ่านผลค่าต่างๆ ในใบตรวจสุขภาพ ไม่ยากอย่างที่คิด เราได้รวบรวมข้อมูลสำคัญที่คุณควรรู้มาไว้ในที่เดียวแล้ว หยิบผลตรวจสุขภาพขึ้นมา แล้วไปดูกัน

ไขข้อข้องใจ... ค่าต่างๆ ในผลตรวจสุขภาพ บอกอะไรได้บ้าง (PART 1)

ไขข้อข้องใจ... ค่าต่างๆ ในผลตรวจสุขภาพ บอกอะไรได้บ้าง (PART 1)

อ่านผลค่าต่างๆ ในใบตรวจสุขภาพ ไม่ยากอย่างที่คิด เราได้รวบรวมข้อมูลสำคัญที่คุณควรรู้มาไว้ในที่เดียวแล้ว หยิบผลตรวจสุขภาพขึ้นมา แล้วไปดูกัน

ไขข้อข้องใจ..ตรวจสุขภาพต้องตรวจอะไร แล้วดีกับคุณอย่างไร?

ไขข้อข้องใจ..ตรวจสุขภาพต้องตรวจอะไร แล้วดีกับคุณอย่างไร?

การตรวจสุขภาพเป็นการตรวจเพื่อประเมินสมรรถภาพการทำงาน หาค่าความเสื่อม ความเสี่ยง และโรคที่อาจกำลังเกิดขึ้นในอวัยวะต่างๆ เพื่อการป้องกัน ดูแล และรักษาอย่างทันท่วงที ซึ่งดีกว่าปล่อยให้โรคลุกลามจนแสดงอาการจึงเข้ารับการตรวจรักษา

ปวดท้องประจำเดือนบ่อยๆ…สัญญาณความผิดปกติที่ควรพบแพทย์

ปวดท้องประจำเดือนบ่อยๆ…สัญญาณความผิดปกติที่ควรพบแพทย์

แม้การปวดประจำเดือนจะเป็นเรื่องธรรมชาติ แต่หากปวดประจำเดือนผิดปกติ เช่น ปวดน้อยแต่นาน ปวดมากกว่าปกติ กินยาแก้ปวดแล้วไม่หาย หรือปวดมากขึ้นทุกเดือน นั่นอาจเป็นสัญญาณเตือนของโรคในอุ้งเชิงกรานได้

ท้องอืด แน่นท้อง คลำพบก้อน อาจใช่ "มะเร็งรังไข่"

ท้องอืด แน่นท้อง คลำพบก้อน อาจใช่ "มะเร็งรังไข่"

มะเร็งรังไข่ พบมากเป็นอันดับสองของมะเร็งสตรี โดยผู้ป่วยมักเข้ามารับการตรวจเมื่ออยู่ในระยะที่สามหรือสี่แล้ว การตรวจคัดกรองด้วยการตรวจภายในทุกปีจะช่วยให้พบโรคได้ตั้งแต่ระยะแรก ซึ่งเพิ่มโอกาสรักษาให้หายขาดได้มากกว่า

ตกขาวผิดปกติ อาการเตือน "มะเร็งปากมดลูก" ที่ไม่ควรละเลย

ตกขาวผิดปกติ อาการเตือน "มะเร็งปากมดลูก" ที่ไม่ควรละเลย

จากสถิติพบว่า..ผู้หญิงไทยป่วยเป็นมะเร็งปากมดลูก โดยเฉลี่ยปีละ 6,000 ราย และเสียชีวิตสูงถึง 7 คนต่อวัน โดยมีสาเหตุหลักๆ มาจาก “การติดเชื้อ HPV”

มะเร็งเต้านม รู้ทันก่อนสาย..ด้วยการตรวจดิจิตอลแมมโมแกรม

มะเร็งเต้านม รู้ทันก่อนสาย..ด้วยการตรวจดิจิตอลแมมโมแกรม

การตรวจเต้านมด้วยดิจิตอลแมมโมแกรม สามรถพบก้อนในเต้านมตั้งแต่ยังมีขนาดเล็ก หากประเมินแล้วว่ามีความเสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านม ก็สามารถตรวจเพิ่มเติมด้วยวิธีอื่นๆ จนแน่ใจได้ ซึ่งการพบมะเร็งเต้านมโรคระยะลุกลามและรีบทำการรักษาจะมีโอกาสหายขาดได้ค่อยข้างมาก

กระดูกพรุนรู้ได้...ด้วยการตรวจมวลกระดูก

กระดูกพรุนรู้ได้...ด้วยการตรวจมวลกระดูก

ภาวะกระดูกพรุน เป็นโรคที่ไม่แสดงอาการ และไร้สัญญาณเตือนใดๆ ทำให้ไม่สามารถทราบได้ว่าเป็นจนกระทั่งกระดูกหัก ในกรณีร้ายแรงอาจส่งให้พิการหรือเสียชีวิตได้ ผู้สูงอายุทุกคนจึงควรเข้ารับการตรวจความหนาแน่นมวลกระดูก เพื่อให้รู้เท่าทันและสามารถป้องกันความเสี่ยงได้

"Est VS Echo" ตรวจสุขภาพหัวใจแบบไหนที่เหมาะกับคุณ

"Est VS Echo" ตรวจสุขภาพหัวใจแบบไหนที่เหมาะกับคุณ

การวินิจฉัยโรคหัวใจต้องอาศัยการซักประวัติ พิจารณาจากอาการ เพื่อเลือกวิธีตรวจที่เหมาะสม เช่น การตรวจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (ECHO) การตรวจสมรรถภาพของหัวใจขณะออกกำลังกาย (EST) หรือการเอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) เป็นต้น

โรคต่อมไทรอยด์ คืออะไร? มาทำความเข้าใจกัน

โรคต่อมไทรอยด์ คืออะไร? มาทำความเข้าใจกัน

โรคต่อมไทรอยด์ไม่ใช่โรคไกลตัวอย่างที่หลายคนเข้าใจ และเพราะต่อมไทรอยด์มีความสำคัญต่อระบบต่างๆ ในร่างกาย เราจึงควรรู้เท่าทัน...เพื่อสังเกตความผิดปกติเบื้องต้นได้

ไขข้อข้องใจ! การตรวจอัลตร้าซาวนด์ช่องท้อง...สำคัญแค่ไหน

ไขข้อข้องใจ! การตรวจอัลตร้าซาวนด์ช่องท้อง...สำคัญแค่ไหน

การตรวจสุขภาพเป็นเรื่องสำคัญ ไม่ว่าคุณจะแข็งแรงดี ไม่มีอาการป่วยใดๆ ยิ่งคนชอบออกกำลังกายอยู่เป็นประจำ เป็นนักกีฬาที่ฟิตร่างกายอยู่ตลอด ยิ่งต้องหันมาตรวจเช็กสุขภาพ เพราะโรคบางโรคก็ไม่มีสัญญาณเตือนล่วงหน้า และความเสี่ยงบางอย่างก็มาโดยที่ไม่ทันตั้งตัว

ใช้กล้ามเนื้อด้านขวาซ้ำๆ ออกกำลังกายแบบเดิมซ้ำๆ รู้ไหม? กล้ามเนื้ออาจไม่สมดุลกันอยู่

ใช้กล้ามเนื้อด้านขวาซ้ำๆ ออกกำลังกายแบบเดิมซ้ำๆ รู้ไหม? กล้ามเนื้ออาจไม่สมดุลกันอยู่

คนรักการออกกำลังกายมักสนใจความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ จนอาจลืมไปว่าการออกกำลังกายหนัก ในรูปแบบเดิมซ้ำๆ สามารถส่งผลต่อความสมดุลของกล้ามเนื้อได้นะ

ใช้ชีวิตได้ไม่เต็มที่ เพราะ “สรีระร่างกายไม่สมดุล” อยู่หรือเปล่า?

ใช้ชีวิตได้ไม่เต็มที่ เพราะ “สรีระร่างกายไม่สมดุล” อยู่หรือเปล่า?

ออกกำลังกายได้ไม่เต็มที่ ออกกำลังกายแล้วเจ็บซ้ำๆ ที่เดิม นั่งทำงานปวดหลัง คอ บ่า ไหล่ ไม่หายสักที ที่เป็นแบบนี้ เพราะสรีระร่างกายไม่สมดุลอยู่หรือเปล่า?

ความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือดสูงลดได้ ด้วยการงด 4 พฤติกรรมนี้

ความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือดสูงลดได้ ด้วยการงด 4 พฤติกรรมนี้

ความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือดสูง ส่วนหนึ่งเกิดจากพฤติกรรมทำลายสุขภาพ เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การนอนดึก และการใช้ชีวิตที่เคร่งเครียด เราจึงควรหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเหล่านี้

การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

การออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

การออกกำลังกายอย่างถูกต้องและเหมาะสมจะช่วยให้ผู้ที่มีความเสี่ยงหรือผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควบคุมและลดความดันโลหิตลงได้ ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัย ควรปรึกษาแพทย์และได้รับการตรวจสุขภาพก่อนเสมอ

ความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือดลดได้ ด้วยการกินแบบแดชไดเอท (DASH Diet)

ความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลในเลือดลดได้ ด้วยการกินแบบแดชไดเอท (DASH Diet)

ผู้ที่มีความดันโลหิตสูง ระดับน้ำตาลในเลือดสูงและผู้ป่วยเบาหวาน จะมีอาหารที่ควรรับประทานและควรหลีกเลี่ยง การกินอาหารแบบแดชไดเอท (DASH Diet) นับเป็นหนึ่งในวิธีที่แพทย์แนะนำ เพราะสามารถช่วยลดความดันโลหิตและลดระดับน้ำตาลในเลือดได้

การดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน (Foot Care)

การดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน (Foot Care)

ผู้ป่วยโรคเบาหวานควรได้รับการดูแลสุขภาพเท้า (Foot Care) รวมถึงการรักษาแผลเบาหวานเพื่อป้องกันการติดเชื้อจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงในการถูกตัดเท้าหรือตัดขาได้มาก

การตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบของร่างกาย (Inbody)

การตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบของร่างกาย (Inbody)

Inbody คือการตรวจวิเคราะห์องค์ประกอบของร่างกาย หรือ Body Composition Analyzer เช่น ปริมาณกล้ามเนื้อ ไขมัน น้ำ เกลือแร่ และมวลกระดูก ที่สามารถใช้เป็นแนวทางในการวางแผนปรับปรุงสุขภาพและรูปร่างให้ดีขึ้น

วิธีลดความเสี่ยงการเกิดโรคความดันโลหิตสูง

วิธีลดความเสี่ยงการเกิดโรคความดันโลหิตสูง

ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่จะป่วยโดยไม่ทราบสาเหตุและไม่มีอาการเตือนล่วงหน้า ทำให้มักพบโรคในระยะที่รุนแรงแล้ว การกินอาหารที่เหมาะสม ออกกำลังกายสม่ำเสมอ เลิกสูบบุหรี่และไม่ดื่มแอลกอฮอล์ จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคได้

การตรวจหาคราบหินปูนในหลอดเลือดหัวใจ (CAC)

การตรวจหาคราบหินปูนในหลอดเลือดหัวใจ (CAC)

ผู้ป่วยหรือผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ และโรคเบาหวาน ควรได้รับการตรวจหาคราบหินปูนหรือแคลเซียมที่ผนังหลอดเลือดแดงในหัวใจ เพื่อการคัดกรอง ป้องกัน หรือรีบรักษา

การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย (EST)

การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย (EST)

ผู้ที่มีอาการหอบ เหนื่อยง่าย หายใจลำบาก ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง จะมีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบและโรคทางหัวใจอื่นๆ การตรวจสมรรถภาพหัวใจขณะออกกำลังกาย (EST) จะช่วยให้เห็นถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้นได้

การเอกซเรย์ปอด (Chest X-ray : CXR)

การเอกซเรย์ปอด (Chest X-ray : CXR)

ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ มีอาการหายใจไม่อิ่ม หายใจลำบาก เหนื่อยง่าย เจ็บหน้าอก มีอาการหอบหืด รวมถึงผู้ติดเชื้อโควิด-19 และผู้ที่สูบบุหรี่จัดมานาน ควรได้รับการตรวจคัดกรองโรคปอดด้วยการเอกซเรย์ปอด (Chest x-ray : CXR)

การตรวจการไหลเวียนเลือดของหลอดเลือดแดงในสมอง (TCD)

การตรวจการไหลเวียนเลือดของหลอดเลือดแดงในสมอง (TCD)

ผู้ป่วยหรือผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบและโรคเบาหวาน ควรตรวจการไหลเวียนเลือดของหลอดเลือดแดงในสมองด้วยคลื่นความถี่สูง (TCD) เพราะจะทำให้เห็นถึงคุณภาพการไหลเวียน ความเร็ว ทิศทางและรูปแบบการไหลของเลือดว่ามีความผิดปกติอย่างไรบ้าง

การตรวจวัดความแข็งตัวของหลอดเลือดแดง (ABI)

การตรวจวัดความแข็งตัวของหลอดเลือดแดง (ABI)

ผู้ป่วยหรือผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมองหรือหลอดเลือดหัวใจ และโรคเบาหวาน ควรได้รับการตรวจวัดความแข็งตัวของหลอดเลือดแดง (ABI) เพื่อการประเมินโรคและวางแผนการป้องกันหรือรับการรักษา

การตรวจวิเคราะห์ขั้วประสาทตา (OCT)

การตรวจวิเคราะห์ขั้วประสาทตา (OCT)

การตรวจวิเคราะห์ขั้วประสาทตา OCT (Optical Coherence Tomography) คือการตรวจขั้วประสาทตา จอประสาทตาและจุดรับภาพ ด้วยการสร้างภาพตัดขวางจากเครื่องเลเซอร์ เพื่อการวินิจฉัยว่าอวัยวะต่างๆ ในลูกตามีปัญหาใดอยู่หรือไม่

การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)

การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG)

ผู้ที่มีอาการเหนื่อยง่าย ใจสั่น หายใจลำบาก การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiography หรือ EKG จะช่วยให้เห็นถึงอัตราการเต้นของหัวใจว่ามีความผิดปกติหรือไม่ ทั้งยังช่วยค้นหาภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ และกล้ามเนื้อหัวใจโตหรือหนาได้ด้วย

การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echo)

การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echo)

ผู้ที่มีอาการหอบ เหนื่อย หายใจลำบาก ซึ่งสงสัยว่าอาจเกิดจากโรคหัวใจ และผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echo) จะช่วยให้เห็นความผิดปกติที่เกิดขึ้น ทั้งรูปร่าง ขนาด และการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจและลิ้นหัวใจ

  • 1
  • 2
  • 3
  • 4
  • 5
  • 6

สมัครรับข่าวสาร
อัพเดทจากเปาโล

บริการทางการแพทย์

  • ค้นหาแพทย์
  • ศูนย์บริการทางการแพทย์

บทความ

  • บทความทางการแพทย์
  • จากใจผู้ใช้บริการ
  • ข่าวสารและกิจกรรม

บริการ

  • ห้องพักและสิ่งอำนวยความสะดวก
  • บริการลูกค้าประกัน
  • แพ็กเกจและโปรโมชั่น

ติดต่อเปาโล

  • ติดต่อเรา
  • เกี่ยวกับเปาโล

โทรหาเราได้ที่ 02-271-7000 แฟกซ์ 0-2271-4454

  • ติดตามเปาโล

Copyright 2018. Paolo Hospital All rights reserved.