ดูแลดวงตาหลังผ่าตัดต้อกระจกอย่างไรให้ไม่เสี่ยงติดเชื้อ หรือเกิดอักเสบ จนกระทบต่อดวงตา นี่คือ 20 ข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยต้อกระจก ที่เราอยากแนะนำ
การตรวจวิเคราะห์ขั้วประสาทตา OCT (Optical Coherence Tomography) คือการตรวจขั้วประสาทตา จอประสาทตาและจุดรับภาพ ด้วยการสร้างภาพตัดขวางจากเครื่องเลเซอร์ เพื่อการวินิจฉัยว่าอวัยวะต่างๆ ในลูกตามีปัญหาใดอยู่หรือไม่
ต้อเนื้อมักเกิดกับผู้ที่ต้องอยู่กลางแจ้งบ่อยๆ ลักษณะจะเป็นพังผืดคล้ายแผ่นเนื้อรูปสามเหลี่ยมในบริเวณเยื่อบุตาขาว โดยจะค่อยๆ โตและลุกลามไปจนถึงกลางตาดำจนเหมือนการปิดรูม่านตา ผู้ป่วยก็จะตามัวและมองไม่เห็นในที่สุด
แม้ว่าต้อกระจกจะเป็นโรคทางตาที่พบมากในผู้สูงอายุ แต่คนวัยทำงานหรือวัยหนุ่มสาวที่มีพฤติกรรมทำร้ายดวงตาเป็นประจำ ก็อาจนำไปสู่ “โรคต้อกระจก” ก่อนวัยอันควรได้เช่นกัน
ต้อกระจก โรคตาที่พบมากในผู้สูงวัย มักทำให้มีอาการตามัวลงอย่างช้าๆ แต่ไม่มีอาการปวด ผู้ป่วยจึงเข้าใจว่าไม่อันตราย จนท้ายที่สุดลุกลาม...ถึงขั้นตาบอด!
เมื่ออายุมากขึ้น “ดวงตา” จะเป็นหนึ่งในอวัยวะที่เสื่อมจากการถูกใช้งานมานานจนเกิดเป็นโรคต่างๆ โดยเฉพาะ 5 โรคตานี้ ที่ผู้สูงอายุควรสังเกตอาการและระมัดระวัง เพราะบางโรคอาจรุนแรงถึงขั้นตาบอดได้