-
การตรวจวัดความหนาแน่นมวลกระดูก (Bone Mineral Density, BMD) เป็นการตรวจเพื่อประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรคกระดูกพรุน สามาร
โปรแกรมตรวจความหนาแน่นมวลกระดูก
โปรแกรมตรวจความหนาแน่นมวลกระดูก
ภาวะโพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ (Spinal Stenosis) คือภาวะที่ช่องโพรงกระดูกสันหลังเกิดแคบลง จนกดเบียดรบกวนไขสันหลัง หลอดเลือด หรือเส้นประสาทต่างๆ ที่ผ่านในช่องทางนี้ถูกกดทับ มักเกิดขึ้นบ่อยในส่วนของหลังส่วนล่าง ส่งผลให้เกิดอาการปวดหลัง ปวดขา รู้สึกชาตามแขนขา หรือปวดร้าวลงขาข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้าง หากปล่อยไว้อาการเหล่านี้อาจรุนแรงขึ้นจนกระทบต่อการเคลื่อนไหว
เช็กความผิดปกติของกระดูกสันหลังด้วยการทำ-MRI
ภาวะกระดูกพรุน (Osteoporosis) เป็นภาวะที่ความหนาแน่นของมวลกระดูกลดน้อยลงจนทำให้กระดูกมีความเปราะบางส่งผลให้มีความเสี่ยงต่อการแตกหักได้ง่าย โดยปกติกระดูกจะประกอบไปด้วยเซลล์สร้างกระดูก (Osteoblast) ที่ทำหน้าที่สร้างเซลล์กระดูกขึ้นมาใหม่ตามกระบวกการเติบโตของร่างกาย และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอจากแคลเซียมและโปรตีน และเซลล์สลายกระดูก (Osteoclast) ที่ทำหน้าที่สร้างสลายเนื้อกระดูกเก่า หากเกิดการสลายตัวของกระดูกเร็วกว่าการสร้างกระดูกก็จะทำให้เกิด “ภาวะกระดูกพรุน”
โปรแกรมตรวจเอกซเรย์กระดูกสันหลัง
โปรแกรมตรวจเอกซเรย์กระดูกสันหลัง
โปรแกรมตรวจกระดูกสันหลังด้วยการทำ MRI
โปรแกรมตรวจกระดูกสันหลังด้วยการทำ MRI
การผ่าตัดกระดูกสันหลังผ่านกล้อง Endoscope เป็นการผ่าตัดด้วยวิธีการส่องกล้อง ซึ่งเป็นการใช้เทคโนโลยี และเทคนิคในการผ่าตัดที่เฉพาะทาง โดยจุดประสงค์เพื่อช่วยลดการบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อโดยเฉพาะกล้ามเนื้อให้น้อยที่สุด ทำให้ผลของการผ่าตัดกระดูกสันหลังผ่านกล้อง มีแผลที่เล็กกว่าการผ่าตัดแบบเปิด ส่งผลให้มีอาการเจ็บน้อยกว่า และลดความเสียหายต่อร่างกายทำให้ร่างกายฟื้นฟูได้ไว
หน้าที่สำคัญของแคลเซียม คือการเสริมสร้างกระดูกและช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ แต่จะกินอย่างไรให้เหมาะสมและเป็นผลดีต่อร่างกายเพื่อไม่ให้เกิดโรคกระดูกพรุนในอนาคต
เมื่ออายุมากขึ้น หมอนรองกระดูกก็เริ่มเสื่อมสภาพ ทำให้ตัวเตี้ยลง ซึ่งหมอนรองกระดูกอาจไหลไปกดทับเส้นประสาท ทำให้เป็นหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาทได้
โปรแกรมตรวจมวลกระดูก และกล้ามเนื้อ
โปรแกรมตรวจมวลกระดูก และกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกและข้อไม่ได้เกิดแค่ผู้สูงวัย
กระดูกสันหลังผิดปกติ เช็กได้ด้วย MRI
กระดูกและข้อ