ตรวจวัดความหนาแน่นของกระดูก (Bone Minineral Density) ป้องกันอันตรายจากภาวะกระดูกพรุน

การตรวจวัดความหนาแน่นมวลกระดูก (Bone Mineral Density, BMD) เป็นการตรวจเพื่อประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรคกระดูกพรุน สามาร

การดูแล ป้องกันการลุกลามของโรคกระดูกพรุน

ในวัยเด็กถึงอายุ 30 ปี กระดูกจะมีความหนาแน่นสูงขึ้นเนื่องจากอัตราการสร้างกระดูกเร็วกว่าอัตราการสลายกระดูก หลังอายุ 30 ป

ทำความรู้จักภาวะกระดูกพรุน...โรคที่ใครหลายคนมองข้าม

ภาวะกระดูกพรุน (Osteoporosis) เป็นภาวะที่ความหนาแน่นของมวลกระดูกลดน้อยลงจนทำให้กระดูกมีความเปราะบางส่งผลให้มีความเสี่ยงต่อการแตกหักได้ง่าย โดยปกติกระดูกจะประกอบไปด้วยเซลล์สร้างกระดูก (Osteoblast) ที่ทำหน้าที่สร้างเซลล์กระดูกขึ้นมาใหม่ตามกระบวกการเติบโตของร่างกาย และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอจากแคลเซียมและโปรตีน และเซลล์สลายกระดูก (Osteoclast) ที่ทำหน้าที่สร้างสลายเนื้อกระดูกเก่า หากเกิดการสลายตัวของกระดูกเร็วกว่าการสร้างกระดูกก็จะทำให้เกิด “ภาวะกระดูกพรุน”

กระดูกพรุนรู้ได้...ด้วยการตรวจมวลกระดูก

ภาวะกระดูกพรุน เป็นโรคที่ไม่แสดงอาการ และไร้สัญญาณเตือนใดๆ ทำให้ไม่สามารถทราบได้ว่าเป็นจนกระทั่งกระดูกหัก ในกรณีร้ายแรงอ

รู้ทัน ป้องกันโรคข้อเสื่อม และโรคกระดูกพรุน

รับประทานอาหารหรือแคลเซียมและวิตามินเสริม ออกกำลังกาย ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคข้อเสื่อม และโรคกระดูกพรุนในอนาคต

โรคกระดูกพรุน

ปัจจุบันโรคกระดูกพรุน กลายเป็นปัญหาสุขภาพใหญ่อีกหนึ่งโรคที่นับวันจะยิ่งมีเพิ่มมากขึ้นจากจำนวนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น จึงนับเป็น ภัยเงียบที่ซ่อนอยู่ เนื่องจากผู้ป่วยจะไม่รู้ตัวเองเลยว่าตัวเองกำลังมี ภาวะกระดูกพรุนอยู่ เนื่องจากโรคกระดูกพรุนเป็นโรคที่ไม่มีอาการแสดงออกมาเลย จะรู้ตัวอีกทีคือตอนที่ตนเองมีการหกล้มแล้วกระดูกหัก ถึงจะรู้ว่าเป็นโรคกระดูกพรุน

โรคกระดูกพรุน ดูแลเร็ว ป้องกันได้

ไม่เพียงแต่ผู้สูงอายุเท่านั้นที่จะเกิดภาวะกระดูกพรุน เพราะการใช้ชีวิตประจำวันบางอย่างของคนหนุ่มสาว บางครั้งก็ส่งผลให้เกิ

โรคกระดูกพรุน ดูแลเร็ว ป้องกันได้

ไม่เพียงแต่ผู้สูงอายุเท่านั้นที่จะเกิดภาวะกระดูกพรุน เพราะการใช้ชีวิตประจำวันบางอย่างของคนหนุ่มสาว บางครั้งก็ส่งผลให้เกิ

เข้าข่ายกระดูกพรุนหรือไม่? เช็คอย่างไร?

โรคกระดูกพรุน เป็นโรคที่เกิดจากความหนาแน่นของเนื้อกระดูกลดลง

เข้าข่ายกระดูกพรุนหรือไม่? เช็คอย่างไร?

โรคกระดูกพรุน เป็นโรคที่เกิดจากความหนาแน่นของเนื้อกระดูกลดลง

กระดูกหักซ้ำในผู้สูงอายุจากภาวะกระดูกพรุน

ภาวะกระดูกหักในผู้ป่วยที่มีกระดูกพรุน พบได้บ่อยเฉลี่ยทุกๆ 3 วินาที

กระดูกหักซ้ำในผู้สูงอายุจากภาวะกระดูกพรุน

ภาวะกระดูกหักในผู้ป่วยที่มีกระดูกพรุน พบได้บ่อยเฉลี่ยทุกๆ 3 วินาที

รู้หรือไม่? โรคกระดูกพรุน… ไม่ใช่แค่โรคของคนแก่เสมอไป

ถ้าคุณเป็นคนที่อายุยังไม่ถึงเลขห้า เราเชื่อว่าคุณเองก็คงคิดว่า “โรคกระดูกพรุน” นั้นเป็นเรื่องใกล้ตัว แต่รู้หรือไม่ว่าความจริงแล้ว โรคนี้สามารถเกิดกับคนในวัยหนุ่มสาวได้เช่นกัน

4 พฤติกรรมเพิ่มความเสี่ยงเป็นโรคกระดูกพรุน

ทำความรู้จักโรคกระดูกพรุน เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยง

แพ็กเกจ รักษากระดูกพรุน

ฉีดยารักษากระดูกพรุน 14,00 บาท / ตรวจหาภาวะขาดแคลเซียมและวิตามินดี 2,500 บาท

ฉีดยารักษากระดูกพรุน

สามารถจอง – จ่ายได้ ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2564 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2564

โรคกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ

เมื่อเวลาผ่าน วัยมากขึ้น ความแข็งแรงของกระดูกย่อมเสื่อมถอยลง การดูแลใส่ใจควรมีมากขึ้น แต่คนส่วนใหญ่จะไม่ให้ความสำคัญในเร

โรคกระดูกพรุนในผู้สูงอายุ

เมื่อเวลาผ่าน วัยมากขึ้น ความแข็งแรงของกระดูกย่อมเสื่อมถอยลง การดูแลใส่ใจควรมีมากขึ้น แต่คนส่วนใหญ่จะไม่ให้ความสำคัญในเร

กินป้องกันโรคกระดูกพรุน

โรคกระดูกพรุน เป็นโรคที่เกิดจากความหนาแน่นของมวลกระดูกลดลง ซึ่งอาจเกิดจากโครงสร้างภายในของกระดูกถูกทำลาย

รับมือ โรคกระดูกพรุน ในผู้สูงอายุ

รู้หรือไม่ว่า !! ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคกระดูกพรุนมากกว่า 2 ล้านคน ทุกๆ 3 วินาที จะมีคนกระดูกหัก